บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต หน้า 4
หน้าที่ 4 / 53

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์และการฝึกฝนในศาสตร์บาลี โดยเฉพาะการวางโครงสร้าง อวธารณบุพพบท และการสร้างสมาส พร้อมทั้งอภิปรายถึงลักษณะของประธานในประโยคต่างๆ เพื่อป้องกันการผิดพลาดในการสร้างเนื้อความ ร่วมกับการอธิบายถึงตัวอย่างคำศัพทศาสตร์ที่สำคัญตัวอย่างเช่น ปัญญา พุทธรัตน์ และศรัทธา มุ่งเน้นให้ผู้อ่านเข้าใจหลักการวิเคราะห์อย่างลึกซึ้ง

หัวข้อประเด็น

- อวธารณบุพพบท
- การสร้างสมาส
- วิจารณ์คำศัพทศาสตร์
- การวิเคราะห์ประโยค
- หลักไวยกรณ์บาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต - หน้าที่ 110 อวธารณบุพพบท มีบทหน้าอันท่านประกอบด้วย เอว ศัพท์ [ เพื่อจะห้ามเนื้อความอันอื่นเสีย] บทหลังเป็นประธาน ดังนี้ " ปญฺญา เอว ปโชโต = ปญฺญาปโชโต [ประทีป] อันโพลงทั่ว คือปัญญา พุทโธ เอว รตน์ = พุทธรตน์ รัตนะ คือพระพุทธเจ้า, สทฺธา เอว ธน = สุทธาธน์ ทรัพย์คือศรัทธา." วิธีวางวิเคราะห์แห่งกัมมธารยสมาส ที่เขียนไว้ข้างต้นนั้น มิใช่ แบบที่นักปราชญ์ท่านใช้ในคัมภีร์ศัพทศาสตร์ เป็นแต่ข้างเจ้าคิดย่อ ให้สั้นเข้า จะได้ไม่ต้องแปลวิเคราะห์ ให้ยืดยาว แบบวิเคราะห์ที่ท่าน ใช้ในคัมภีร์ศัพทศาสตร์ทั้งหลาย ดังนี้: บุรุษ วิเสสนบุพพบท. มหนฺโต จ โส ปุริโส จา ติ มหาปุริโส ด ๒๓ ๔ ๕ ๖ ය นั้น ด้วย เป็นผู้ใหญ่ ด้วย เหตุนั้น ชื่อบุรุษผู้ใหญ่ ہے ๒ ๖ ය วิเสสนุตตร บท. สตฺโต จ โส วิเสโส จา ติ สตฺตวิเสโส ๒ က ๔ ๕ ๖ ය สัตว์ นั้น ด้วย วิเศษ ด้วย เหตุนั้น ชื่อสัตว์วิเศษ က ๒ ๔ ๕ ๖ ක วิเสสโนภยบท. สีตญ จ ต สมฏฐญ จา ติ สิตตสมฏฐ์ [ ฐาน ๒๓ ๔ ๕๖ ៨ ที) นั้น เย็น ด้วย เกลี้ยง ด้วย เหตุนั้น ชื่อว่าทั้งเย็นทั้งเกลี้ยง ៨ ๓ ๒ ๔ ๕ ๖ อีก ๓ สมาสนั้น มีแบบวิเคราะห์เหมือนอย่างในที่นี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More