ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค๑ - บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต - หน้าที่ 122
ประธานแห่งบทสมาส ท่านจึงเรียกสมาสทั้งหลายเหล่านี้ว่า ตุลยาธิ
กรณพหุพพิหิ พหุพพิหิที่แสดงมาแล้วเหล่านี้ มีเนื้อความไม่ปฏิเสธ
พหุพพิหิ ที่มีเนื้อความปฏิเสธ มีวิเคราะห์อย่างนี้ :-
" นตฺถิ ตสฺส สโม-ติ อสโม ผู้เสมอ ไม่มี แก่ท่าน โตสุส
9
๒ ๓ ๔ &
๓
๒
ภควโต แก่พระผู้มีพระภาคนั้น] เหตุนั้น [โส ท่าน] ชื่อว่ามีผู้เสมอ
หามิได้ หรือไม่มีผู้เสมอ
๔
นตฺถิ ตสฺส ปฏิบุคคโล-ติ
0
ھی
อปปฏิปุคฺคโล บุคคลเปรียบ
๒
ด ๔
๕
ไม่มี แก่ท่าน เหตุนั้น [ท่าน] ชื่อว่ามีบุคคลเปรียบหามิได้ หรือ
๒
๔
๕
ไม่มีบุคคลเปรียบ.
นตฺถิ ตสฺส ปุตตา-ติ อปุตฺตโก บุตร ท. ของเขา [ตสฺส
ด
๒ ๓๔ ๕
o
ชนสุส ของชนนั้น] ไม่มี เหตุนั้น [โส เขา] ชื่อว่ามีบุตรหามิได้
หรือไม่มีบุตร."
0
๔
๕
น บุพพบท พหุพพิหินี้ ในแบบเล่าเรียนท่านสอนให้แปลว่า
" มี ....ไม่มี " เหมือนศัพท์ว่า อสโม แปลว่า " มีผู้เสมอไม่มี " เพื่อ
จะไม่ให้เสียรูปสมาส แต่เห็นว่าผู้ศึกษาจะเข้าใจได้ยาก เพราะไม่มี
โวหารใช้ในภาษาของเรา นอกจากแบบเรียน ข้าพเจ้าจึงคิดเปลี่ยน