บาลีไวยกรณ์: วจีวิภาค สมาสและตัทธิต บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต หน้า 10
หน้าที่ 10 / 53

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายถึงโครงสร้างและการใช้งานของบาลีไวยกรณ์ โดยเฉพาะในเรื่องวจีวิภาคและสมาส รวมถึงความแตกต่างระหว่างสมาสทั่วไปและตัปปุริสสมาส นอกจากนี้ยังมีการอธิบายตัวอย่างต่างๆ เพื่อให้เห็นภาพการนำไปใช้ในบริบทต่างๆ ของภาษา โครงสร้างเหล่านี้ถือเป็นพื้นฐานสำคัญในการศึกษาและเข้าใจภาษาบาลีได้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-บาลีไวยกรณ์
-วจีวิภาค
-สมาส
-ตัทธิต
-การศึกษาเกี่ยวกับภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต - หน้าที่ 116 เหตุนั้น [ สิ่งนั้น] ชื่อว่าทับตน [ เอา อธิ เป็น อรุณ ในพยัญชนะสนธิ ] ๔ นิปาตปุพพกะ มีนิบาตอยู่ข้างหน้า อย่างนี้ " วุฑฒาน ปฏิปาฏิ ยถาวุฑฒิ ลำดับ แห่งคนเจริญแล้ว ท. ๒ ชื่อว่าตามคนเจริญแล้ว. ๔ ชีวาส ยตฺตโก ปริจเฉท ยาวชีว์ กำหนด เพียงไร แห่งชีวิต ๒ က ๔ ๓ ชื่อเพียงไรแห่งชีวิต. ๔ ปพพต ส ติโร ติโรปพฺพติ ภายนอก แห่งภูเขา. นครสุส พหิ พหินคริ ภายนอก แห่งเมือง. ปาสาทสฺส อนโต อนุโตปาสาท ภายใน แห่งปราสาท. ภตฺตสฺส ปุจฉา ปัจฉาภัตต ภายหลัง แห่งภัตร." สมาสนี้กับตัปปุริสสมาส ต่างกันดังนี้ ตัปปุริสสมาสมีบทหลัง เป็นประธาน ไม่ได้นิยมลิงค์และวจนะ สมาสนี้มีบทหน้าเป็นประธาน และเป็นอุปสัคและนิบาต บทหลังเป็นนปุสกลิงค์เอกวจนะ บางสมาส ก็มีอาการคล้ายกัมมธารยะ เหมือนวิเคราะห์ว่า " เย เย วุฑฒา 0 9 ยถาวุฑฒิ ชนเจริญแล้ว ท. ใด ใด ชื่อเจริญแล้วอย่างไร" ๔ အ ๑๑ ๔ ถึงกระนั้น ก็เป็นที่สังเกตได้บ้าง ด้วยว่า กัมมธารยะ ไม่มีนิยมบท
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More