บาลีไวยกรณ์: วจีวิภาค สมาสและตัทธิต บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต หน้า 15
หน้าที่ 15 / 53

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้นำเสนอการวิเคราะห์บทสมาสและการวิเสสนะในบาลี ยกตัวอย่างจากพระไตรปิฎก เพื่อช่วยให้เข้าใจลักษณะและโครงสร้างของวจีวิภาค ผ่านการใช้งานเช่น 'ขีณา อาสวา' หรือ 'สุวณฺณสฺส วณโณ'. โดยนำเสนอหลักการและวิธีการรับรู้การใช้ภาษาอย่างถูกต้องในมุมมองของพระธรรมวินัย.

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์บาลี
-หลักการวจีวิภาค
-บทสมาส
-การใช้ต้นฉบับพระไตรปิฎก
-การวิเคราะห์บทวิเสสนะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต - หน้าที่ 120 ฉัฏฐีพหุพพิหิ เอาบทที่เป็นฉัฏฐีวิภัตติ ในวิเคราะห์ เป็น ประธาน แห่งบทสมาส อย่างนี้ " ขีณา อาสวา ยสฺส โส ขีณาสโว ภิกขุ อาสวะ ท. 0 ๒ က ๔ ๕ ๖ ๒ ของภิกษุใด สิ้นแล้ว ภิกษุ นั้น ชื่อว่ามีอาสวะสิ้นแล้ว ล ๖ ๔ & สนฺติ จิตติ ยสฺส โส สนฺตจิตโต ภิกขุ จิต ของภิกษุใด 0 ๒ ระงับแล้ว ภิกษุ นัน ด ๔ ฉินนา หตุถา ของบุรุษใด ขาดแล้ว ာ 0 ๔ & ๖ ๒ က ชื่อว่ามีจิตระงับแล้ว. ๕ ยสฺส โส ฉินเหตุโก ปุริโส มือ ท. ๕ ๖ ต ๔ บุรุษ นั้น ชื่อว่ามีมือขาดแล้ว." ๖ ๔ ๕ 'หตุถา ฉนนา อีกอย่างหนึ่ง บทวิเสสนะอยู่หลัง อย่างนี้บ้าง ยสฺส โส หตุถจฉินฺโน ปุริโส [แปลเหมือนบทก่อน ]." ฉัฏฐีอุปมาพหุพพิหิ อย่างนี้ สุวณฺณสฺส วณโณ อิว วณโณ ยสฺส โส สุวณฺณวณโณ ๒ ๔ ๕ ๖ วรรณ ของพระผู้มีพระภาคใด เพียงดัง วรรณ แห่งทอง ภควา ៨ ๔ ๕ ๓ ๒ พระผู้มีพระภาค นั้น ชื่อว่ามีวรรณเพียงดังวรรณแห่งทอง ៨ 0
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More