ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต - หน้าที่ 152
สมณสุส ภาโว สามญญ์ ความเป็น แห่งสมณะ ชื่อ สามัญญะ, สุหทสฺส
ภาโว โสหชช์ ความเป็น แห่งเพื่อน [คนมีใจดี] ชื่อ โสหัชชะ
ปุริสสส ภาโว โปรสส์ ความเป็น แห่งบุรุษ ชื่อ โปริสสะ, นิปกสฺส นิปกสุส
ภาโว เนปกุก ความเป็น แห่งคนมีปัญญา [ รักษาไว้ซึ่งตน] ชื่อ
เนปักกะ, อุปมาย ภาโว โอปมุม ความเป็น แห่งอุปมา ชื่อ โอปัมมะ
ในที่นี้ ผู้ศึกษาพึงสังเกต ปุ๋ย ปัจจัยนี้ พฤทธิ์ สระ ตัวหน้า
ที่เป็นรัสสะ ล้วน และต้องลบ ตามพวกปัจจัยที่มี ณ อักษร ที่กล่าว
แล้วในโคตตตัทธิตข้างต้น [๑๐๓] เมื่อลบ ณ แล้ว เหลืออยู่แต่ ย
ลบ อ สระที่สุดศัพท์ ข้างหน้าเสีย เหมือน ศัพท์ คือ ปัณฑิตะ ลบ
อ เสีย คงแต่ ปัณฑิต แล้วเอาพยัญชนะที่สุดศัพท์ ซึ่งมีสระอัน
ลบเสียแล้วนั้น กับ ย ปัจจัย อาเทศตามสถานที่ควร อย่างนี้ :-
อ
[Q]
เอา
ตุ้ย
เป็น
จ
[L]
เอา
ลุย
เป็น
ดุล
[m]
เอา
ณย
เป็น
ญฺญ
[๔]
เอา
ทย
เป็น
ชฺช
นอกนั้น เอาเป็นเหมือนพยัญชนะหน้า ย ทั้ง ๒ ตัว หรือคงไว้
อย่างเดิม ไม่อาเทศ
ในสัททนีติว่า ศัพท์ คือ วิริย์ ความเป็นผู้กล้า [ความเพียร ] และ
อาลาย ความเป็นผู้เกียจคร้าน, ลง นิย ปัจจัย, โสเจย์ ความเป็น
ของสะอาด, ลง เณยย ปัจจัย, ทาสพย์ ความเป็นทาส, ลง พย ปัจจัย