บาลีไวยกรณ์: วจีวิภาค สมาสและตัทธิต บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต หน้า 9
หน้าที่ 9 / 53

สรุปเนื้อหา

บทนี้เสนอเนื้อหาเกี่ยวกับบาลีไวยกรณ์ โดยเฉพาะการวิเคราะห์วจีวิภาค สมาส และตัทธิต รวมถึงวิธีการใช้และตัวอย่างที่ชัดเจนในการศึกษาภาษา โดยแสดงให้เห็นถึงบทวิเสสนะและการใช้อุปสัคหรือนิบาตกับสมาสต่างๆ พร้อมตัวอย่างในการใช้งานที่นำไปสู่ความเข้าใจที่ลึกซึ้งในการใช้ภาษาบาลีในบริบทต่างๆ ตลอดจนการประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-บาลีไวยกรณ์
-วจีวิภาค
-สมาส
-ตัทธิต
-อุปสัคหรือนิบาต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต - หน้าที่ 115 วิเสสโนภยบท เป็นบทวิเสสนะทั้ง ๒ บท ทวันทวสมาส เป็นบท ประธานทั้งสิ้น [ 88 ] สมาสที่มีอุปสัคหรือนิบาตอยู่ข้างหน้าชื่ออัพยยีภาวสมาส ๆ มี ๒ อย่าง คือ อุปสคฺคปุพฺพโก, นิปาตปุพพโก อุปสัคคปุพพกะ มีอุปสัคอยู่ข้างหน้า อย่างนี้ " นครสุส สมี อุปนคร ที่ใกล้เคียง แห่งเมือง ชื่อใกล้เมือง 0 ทรถสฺส อภาโว นททรถ ความไม่มี แห่งความกระวนกระวาย ๒ ๓ ๒ ชื่อความไม่มีความกระวนกระวาย วาต์ อนุวตฺตตีติ อนุวาต์ [ย์ วัตถุ สิ่งใด ๆ ย่อมเป็นไปตาม ซึ่งลม เหตุนั้น ๒ ด วัตถุ สิ่งนั้น] ชื่อว่าตามลม. ๔ วาตสฺส ปฏิวตฺตตีติ ปฏิวาต์ [สิ่งใด ย่อมเป็นไป [ (ทวน,แก่ลม)(ตอบ,แก่ลม) ] ๒๓ ๔ เหตุนั้น [ สิ่งนั้น] ชื่อว่าทวนลม. ๔ ๒ อตฺตานํ อธิวตฺตตีติ อรุณฤติ [สิ่งใด ย่อมเป็นไปทับ ซึ่งตน ๔ o ด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More