บาลีไวยกรณ์ - วจีวิภาค สมาสและตัทธิต บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต หน้า 18
หน้าที่ 18 / 53

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้ได้พูดถึงหลักการแปลคำในภาษาบาลีซึ่งมี 2 วิธี คือ แปลตามพยัญชนะและแปลตามความ โดยเสนอแนวทางในการใช้แต่ละวิธีเพื่อให้เหมาะสมกับการเรียนรู้และการแปลเอกสารทางวิชาการ ต่างกันไปตามวัตถุประสงค์การศึกษา การเข้าใจในเชิงลึกเกี่ยวกับสมาสจะช่วยให้ผู้ศึกษาเข้าใจความหมายและกฎเกณฑ์การสร้างคำในบาลีได้ดียิ่งขึ้น ทั้งยังเสนออุทาหรณ์เพื่อแสดงความเข้าใจในหลักการของสมาส.

หัวข้อประเด็น

-การแปลตามพยัญชนะ
-การแปลตามความ
-หลักการสมาส
-วิธีการศึกษาและการเรียนรู้
-อุทาหรณ์ในสมาส

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต - หน้าที่ 123 เสียว่า "มี...... หามิได้ " พอไม่ให้เสียรูปสมาส ถ้าจะต้องการแต่ ความอย่างเดียว ไม่เอื้อเฟื้อต่อรูปสมาส ก็ต้องแปลว่า " ไม่มี" เท่า นั้นเอง ข้าพเจ้าแปลไว้ทั้ง ๒ อย่างนั้น ด้วยเห็นว่า วิธีแปลหนังสือ ๑ มี ๒ แปลตามพยัญชนะอย่าง ๑ แปลตามความอย่าง ๑ แปลตาม พยัญชนะนั้น ควรใช้ในแบบเล่าเรียน เป็นที่ให้ผู้ศึกษาสังเกตง่ายกว่า แปลตามความทีเดียว แปลตามความนั้น ควรใช้ในการแปล หนังสืออื่น ๆ นอกจากแบบเล่าเรียน ผู้อ่านผู้ฟังจะได้เข้าใจความได้ ง่าย ๆ ผู้ศึกษาควรจะเข้าใจวิธีแปลหนังสือ ๒ อย่างนี้ ในวิเคราะห์แห่งสมาสใด บททั้งหลายมีวิภัตติต่างกัน ท่าน เรียกสมาสนั้นว่า กินนาธิกรณพหุพพิหิ อุทาหรณ์อย่างนี้: " เอกรตติ วาโส อสฺสา ติ เอกรฤติวาโส ความอยู่ ของเขา ๒ ๓๔ ๕ ๒ [อสฺส ชนสฺส ของชนนั้น] สิ้นคืนเดียว เหตุนั้น [โส เขา] ชื่อว่ามีความอยู่สิ้นคืนเดียว & 0 ๔ က อุรส โลมานิ ยสฺส โส อุรสโลโม พราหมโณ ขน ท. ที่อก ๒ 0 ๔ & ๖ ๒ ของพราหมณ์ใด [อตฺถิ มีอยู่] พราหมณ์ นั้น ชื่อว่ามีขนที่อก ค ๖ ๔ ๕ อสิ หตฺเถ ยสฺส โส อสิหตฺโถ โยโธ ดาบ [1] ในมือ ๒ ๔ ๕ ๖
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More