การใช้ชีวิตด้วยปัญญา รวมพระธรรมเทศนา ๓ หน้า 12
หน้าที่ 12 / 71

สรุปเนื้อหา

บทนี้เน้นความสำคัญของการดำเนินชีวิตด้วยปัญญาโดยมีใจที่บริสุทธิ์ ผู้เขียนได้อธิบายถึงความสำคัญของการมีความทรงจำที่ดี ซึ่งเป็นผลมาจากการฝึกสมาธิและการใช้ชีวิตที่ถูกต้อง การรู้จักแยกแยะสิ่งดีและไม่ดีจะช่วยให้เราดำเนินชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายสูงสุดในชีวิตคือการบรรลุพระนิพพาน นอกจากนี้ยังมีการเน้นการรักษาทรัพย์สินและใช้จ่ายอย่างมีสติ เพื่อพัฒนาชีวิตให้ดียิ่งขึ้น และสร้างสรรค์สังคมด้วยการให้ความสำคัญกับการศึกษา การทำงานสุจริต และการอยู่ร่วมกับผู้มีปัญญา

หัวข้อประเด็น

-การใช้ชีวิตด้วยปัญญา
-ความสำคัญของการทรงจำดี
-วิธีดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง
-การแตกแยกประโยชน์ในปัจจุบันและอนาคต
-การสร้างรามด้วยความรู้

ข้อความต้นฉบับในหน้า

รวบพระธรรมเทศนา : พระราชภาวนาวิสุทธิ (ไชยยลย์ ธมฺมชิโน) 12 บทนี้ คือผู้ใจผ่องใสเป็นปกติ และดำเนินชีวิตอยู่ด้วยปัญญา เป็นผู้ฉลาดในอายุแห่งความเสื่อมและความเจริญ มีความทรงจำดี เนื่องจากมีใจใส ความเห็น ความคิด ความรู้จริงริสุทธิ์ เมื่อจิตริสุทธิ์ ดวงจำก็รำลึกได้ดี จึงมีความทรงจำแม่นยำไม่ผิดพลาด เมื่อทรงจำได้มาก ถึงเวลาจะใช้งานย่อมสามารถนำออกมาใช้งนได้คล่องแคล่ว มีปัญหาแตกต่าง รอบรู้ในทุกๆ ด้าน ว่าอะไรคืออะไรชั่ว อะไรถูกอะไรผิด อะไรเป็นบุญ อะไรเป็นบาป มีวิจฉัยที่ถูกต้องร่องรอยตามความเป็นจริง มองเห็นประโยชน์ทั้งในปัจจุบันและอนาคตอย่างแจ่มแจ้ง นักปราชญ์ราชบัณฑิตในสมัยก่อน เช่น พระบรมโพธิสัตว์ท่านสอน ตนเองได้ว่า อะไรเป็นสาระหรือไม่เป็นสาระ จึงรู้จักวิธีการดำเนินชีวิตที่ถูกต้องว่า ต้องสร้างรามไปปนกว่ารามมีจะเต็มเมี่ยน ได้บรรลุเป้าหมายสูงสุด ของชีวิต คือพระนิพพาน ตรงใต้ที่ยังไม่หลุดพ้นจากอาสวะก็เลย ไม่ได้บรรลุธรรมอมรหัสด เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับกายธรรมอัคติ ก็ยังประมาณไม่ได้ อย่างน้อยจะต้องยึดเอาประโยชน์ในปัจจุบันและประโยชน์ในอนาคตไว้ก่อน ประโยชน์ในปัจจุบันเรียกว่า ทูกฺฐีมิกตผลประโยชน์ คือ ถึงพร้อมด้วยความมั่น ตั้งแต่ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน นำวิชาความรู้มาประกอบอาชีพ สุจริต ขยันขันแข็ง ทำงาน ไม่เกียจคร้าน ไม่ด้วนประกันรุ่ง เมื่อได้ทรัพย์มาแล้วก็รู้จักเก็บรักษา ถึงพร้อมด้วยการรักษา ไม่ใช่จ่ายสู่สุรย์ สุร่าย แต่ใช้ทรัพย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่ออนุรักษ์และส่วนรวม การที่จะให้ชีวิตสมบูรณ์ได้มัน ต้องมึนดีแบบ ต้องรู้จักคนดี มีนักปราชญ์ราชบัณฑิตเป็นกลายานมิตร เพื่อจะดำเนินชีวิตได้ถูกต้อง พบกับชีวิตอันประเสริฐ ชีวิตจะได้ดำเนินอยู่บนทางสายกลาง คือ เลี้ยงชีวิตได้เหมาะสม มีความเป็นอยู่ที่ดี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More