ความสุขอันยั่งยืนตามหลักพระธรรม รวมพระธรรมเทศนา ๓ หน้า 46
หน้าที่ 46 / 71

สรุปเนื้อหา

มนุษย์ทุกคนล้วนแสวงหาความสุข แต่ความสุขที่ได้จากสิ่งต่างๆ เป็นเพียงความสุขชั่วคราว ความสุขที่แท้จริงคือการเข้าถึงพระรัตนตรัย ซึ่งนำมาซึ่งความบริสุทธิ์และความออมตะ ความสุขนี้มาจากภายในจิตใจเท่านั้น โดยการทำจิตใจให้หยุดนิ่งตามแนวทางของพระธรรมที่แท้จริง เช่น ในเรื่องของพระมหากัณปน๊ะ ที่มีความสุขได้จากการตั้งอยู่ในศีลธรรม และการค้นหาความจริงในชีวิต

หัวข้อประเด็น

-ความสุขที่แท้จริง
-การเข้าถึงพระรัตนตรัย
-การทำจิตใจให้สงบ
-พระมหากัณปน๊ะ
-ธรรมะและศีลธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

รวมพระธรรมเทวนาคต : พระราชภาณวิสุทธิ (ไชยุย ธรรมชโย) 46 มนุษย์ทุกคนในโลก ล้วนแสวงหาความสุขด้วยกันทั้งสิ้น บ้างก็แสวงหาจากการดื่ม จากการกิน จากการเที่ยว หรือจากการได้รับของที่ถูกใจ แต่ความสุขเหล่านั้นเป็นความสุขชั่วคราว ไม่ยั่งยืน เมื่อได้รับแล้วก็ต้องแสวงหากันใหม่อยู่ไป ถ้าจะเรียกให้ถูก เราต้องเรียกว่าความเพลินมากกว่าอะไร คือ ความสุขที่แท้จริง อยู่ไหน มีลักษณะอย่างไร ความสุขที่แท้จริง ต้องเป็นความสุขที่เป็นออมตะ เป็นความสุขที่เข้าถึงได้ สัมผัสได้ นั่นคือความสุขที่เกิดจาก การเข้าถึงพระรัตนตรัยใน เป็นสุขล้นๆ ที่ปลาจากความโลภ ความโกรธ ความหลง เป็นความสุขที่คู่กับความบริสุทธิ์ จะเข้าถึงความสุขนี้ได้ ด้วยวิธีการทำให้หยุดนิ่งที่ศูนย์กลางกายเท่านั้น เหมือนอย่าง “พระมหากัณปน๊ะ” ที่มีความสุขภายในท่านมักอยู่อยเสมอว่า “สุขจริงหนอ สุขจริงหนอ” เรื่องนี้มีอยู่ว่า ในสมยุทธกาล มีพระราชพระองค์หนึ่ง ทรงพระนามว่า “มหากัณปน๊ะ” ทุกๆ เช้า พระองค์จะส่งทหารออกไปส่งข่าวว่า ขณะนี้มิใช่พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บังเกิดขึ้นแล้วหรือยัง ทรงทำเช่นนี้อยู่เป็นเวลานาน ก็ยังไม่ทราบข่าวนี้แต่ย่างใด วันหนึ่ง ขณะพระองค์เสด็จประพาสอุทยาน พร้อมกับบุตรอาณัตย์หนึ่ง พนิคน ได้เห็นพ่อค้า ๕๐๐ คน เดินทางผ่านมา จิรตรัสถามว่า “ท่านทั้งหลายเดินทางมาจากที่ไหนล่ะ?” พ่อค้ากราบทูลว่า “ข้าพระองค์มาจากเมืองสวัตดี ซึ่งอยู่ไกลจากเมืองนี้ ๑๒๐ โยชน์ พระเจ้าข้า” พระองค์คิดตรัสว่า “ในบ้านเมืองของท่าน มีข้าวปลาอาหารบริบูรณ์ดีหรือ พระราชาของท่านตั้งอยู่ในศีลธรรมดีหรือ?” “บ้านเมืองของข้าพระองค์สมบูรณ์ทุกอย่าง ทั้งพระราชากรงตั้งอยู่ในศีลธรรมดี พระเจ้าข้า”
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More