การกำเนิดเบญจขันธ์ทั้ง ๕ วิสุทธิวาจา 3 หน้า 69
หน้าที่ 69 / 220

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงการกำเนิดของเบญจขันธ์ทั้ง ๕ และหลักการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะการเกิดที่เรียกว่า 'ทวิชาติ' ซึ่งเป็นการเกิดขึ้นของสัตว์ที่สองครั้ง ได้แก่ การเกิดเป็นไข่และการฟักเป็นตัว นอกจากนี้ยังอธิบายแนวความคิดเกี่ยวกับ 'สังเสทชะ' ที่เกิดจากเหงื่อไคล รวมถึงการอ้างอิงถึงลูกของนางปทุมวดีที่มีการคลอดที่พิเศษ เนื้อหานี้ช่วยให้เข้าใจถึงแนวคิดศาสนาที่เกี่ยวข้องกับการเกิดและการหล่อหลอมชีวิต โดยมีการใช้ตัวอย่างที่คล้ายคลึงกันจากโลกของธรรมชาติและมนุษย์

หัวข้อประเด็น

-กำเนิดเบญจขันธ์
-การเกิดแบบทวิชาติ
-การเกิดแบบสังเสทชะ
-แนวคิดในศาสนา
-การคลอดและการเกิดในมนุษย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

บิล มิราจา ២១ กำเนิด ๔ เบญจขันธ์ทั้ง ๕ นี้ การกำเนิดของมันเกิดหลายประการ กำเนิดของมันเกิด ๔ เบญจขันธ์ทั้ง ๕ ที่จะแสดงวันนี้ กำเนิด เกิดขึ้น ๔ อัณฑชะ เกิดเป็นฟองไข่ เกิดเป็นฟองไข่เสียครั้งหนึ่ง แล้วมาฟักเป็นตัวอีกครั้งหนึ่ง นี้เขาเรียกว่า เทวชาติ เกิดสอง ครั้ง หรือทวิชาติ ะ ทวิชาติแปลว่าเกิดสองครั้ง เกิดเป็นไข่เสียครั้งหนึ่ง เกิด เป็นตัวเสียครั้งหนึ่งนี่เกิดสองครั้ง อย่างหนึ่งเรียกว่า ทวิชาติ สังเสทชะ เกิดด้วยเหงื่อไคล นี่เราไม่ค่อยเข้าใจเลยที เดียว เรือด ไร เหา เล็น พวกนี้เกิดด้วยเหงื่อไคล เกิดด้วย เหงื่อไคลน่ะ ไม่ใช่แต่ เรือด ไร เหา เล็น มนุษย์เราก็เกิดด้วยเหงื่อ ไคลได้เหมือนกัน ลูกของนางปทุมวดี คลอดบุตรมาคนหนึ่งแล้ว ส่วนสัมภาวมลทินของครรภ์นั้น ที่ออกกับลูกนั่น ก็เป็นเลือด ออกมาเท่าไรๆๆ ก็เป็นลูกทั้งนั้น ถึง ๔๙๙ คน เป็น ๕๐๐ ทั้ง ออกมาคนแรก นั่นก็เรียกว่าสังเสทชะเหมือนกัน เกิดด้วย -๖๑-
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More