บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาคที่ 2 นามและอัพพยศัพท์ หน้า 26
หน้าที่ 26 / 78

สรุปเนื้อหา

บทนี้พูดถึงการเปลี่ยนวิภัตติและการันต์ในภาษาบาลี ด้วยคำที่เป็นเอกวจนะ เช่น 'อตฺต' และ 'พรหม' โดยอธิบายการแจกคำทั้งในรูปเอกพจน์และพหุพจน์ พร้อมนำเสนอวิธีการเปลี่ยนท่ามกลางตัวอย่างที่เข้าใจง่าย เช่น การใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น อา, อาน, โน และนา รวมถึงคำสำคัญอื่นๆ ที่เกี่ยวกับหลักการไวยากรณ์ของบาลี

หัวข้อประเด็น

-การเปลี่ยนวิภัตติ
-เอกวจนะและพหุวจนะ
-ศัพท์ทางภาษาบาลี
-คำว่า 'อตฺต'
-คำว่า 'พรหม'

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ป. ประโยค - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ - หน้าที่ 54 [๖๑] อตฺต [ตูน] เป็น ปุ๊ลิงค์ แจกอย่างนี้ :- เอก. อตฺตา อตฺตานํ อตฺตนา อตฺตโน ทุ ต. จ. ปญฺ. ฉ. ส. อตฺตนิ อา. อตฺต อตฺตนา อตฺตโน วิธีเปลี่ยนวิภัตติและการันต์ ๑ เอา อ ที่สุดแห่ง อตฺต กับ สิ เป็น อา. ๒ เอา อ กับ อู๋ เป็น อาน. ๓ คง นา วิภัตติไว้ตามเดิม ๔ เอา ส วิภัตติ เป็น โน. ๕ เอา สุมา วิภัตติ เป็น นา 5 เอา ส วิภัตติ เป็น โน. ๓) เอา สุมิ วิภัตติ เป็น นิ. ๘ อตฺต ศัพท์นี้ เป็นเอกวจนะ อย่างเดียว ไม่มีพหุวจนะ [๖๒] พรหม [หรหม] เป็น ลิงค์ แจกอย่างนี้ :- เอก. พหุ. ป. พฺรหฺมา พฺรหฺมาโน ทุ พฺรหฺมานํ พฺรหฺมาโน ต. พฺรหฺมุนา พฺรหฺเมหิ พฺรหฺเมริ จ. พฺรหฺมฺโน พิรหฺมานํ ปญฺ. พฺรหฺมุนา พฺรหฺเมหิ พฺรหฺเมริ ฉ. พฺรหฺมฺโน พฺรหฺมานํ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More