บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาคที่ 2 นามและอัพพยศัพท์ หน้า 59
หน้าที่ 59 / 78

สรุปเนื้อหา

บทที่ ๒ ของบาลีไวยากรณ์นี้เน้นการใช้ศัพท์ที่มีความหมายในการตั้งคำถาม เช่น 'กึ' ที่หมายถึง 'หรือ' และ 'กี' ซึ่งหมายถึง 'ทำไม' พร้อมยกตัวอย่างเพื่อความเข้าใจชัดเจน. นอกจากนี้ยังช่วยให้ผู้ศึกษารู้วิธีการใช้คำในบริบทต่าง ๆ อย่างถูกต้อง โดยเฉพาะการถามในภาษาไทยและบาลี.

หัวข้อประเด็น

- การใช้คำถามในบาลี
- ความหมายของ 'กึ' และ 'กี'
- ตัวอย่างการใช้คำในบริบทต่าง ๆ
- การศึกษาไวยากรณ์บาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ - หน้าที่ 87 กึ ศัพท์ ที่เป็นคำถามแปลว่า "หรือ" เหมือนคำว่า "กึ ปเนติ ๑ ๒ ๓ อาวุโส ปฏิรูป์ ดูก่อนอาวุโส ก็ อันนั้น สมควร หรือ " บางที ๔ & ๔ ๒ ๕ ๑ ในคำถามไม่มี กี ก็มี ใช้แต่หางเสียงที่กิริยา เหมือนในภาษาอังกฤษ อุ. ว่า "อุตฺถิ ปนายสฺมโต โกจิ เวยยาวจากโร ? ก็ ใคร ๆ ผู้เป็น 0 ๒ ๓ ๔ ๕ ๒ ๔ ไวยาวัจกร [ทำซึ่งกรรมของผู้ขวนขาย] ของท่านผู้มีอายุ มี (หรือ) ?" ๕ กึ ศัพท์ ที่เป็นคำถามถึงเหตุที่เป็น แปลว่า "ทำไม" อุ ว่า "กี ปาลิต ปมชฺชติ ดูก่อนปาลิต ทำไม [ท่าน] ประมาทอยู่" ๒ က ๒ 0 [๔๘] เอต ศัพท์ [นั่น] ในลิงค์ แจกอย่างนี้:- เอก. พหุ. ป. เอกโส เอเต ทุ เอต เอน เอเต ต. เอเตน เอเตหิ จ. เอต ส เอเตสํ เอเตสาน ปญฺ. เอตสมา เอตมหา เอเตหิ ฉ. เอต ส เอเตส เอเตสานํ ส. เอตุสฺมิ เอตมหิ เอเตส
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More