บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาคที่ 2 นามและอัพพยศัพท์ หน้า 50
หน้าที่ 50 / 78

สรุปเนื้อหา

บทที่ ๒ นี้นำเสนอวิธีการแจกสัพพนามต่าง ๆ ในภาษาบาลี โดยเฉพาะการใช้วิเสสนสัพพนามที่เกี่ยวข้องกับคุณนามและอัพพยศัพท์มีการแบ่งการแจกที่แตกต่างกันและการใช้ศัพท์ที่หลากหลายในการแปลความหมาย เช่น ย อญฺญ กับ อญฺญตร. เรียนรู้การประยุกต์ใช้เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องในบทศึกษาภาษาบาลี.

หัวข้อประเด็น

-วิเสสนสัพพนาม
-การแจกปุริสสัพพนาม
-การแปลศัพท์ในบาลี
-ศัพท์ในปุ๋ลิงค์และอิตถีลิงค์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ - หน้าที่ 78 อมุห ศัพท์ทั้ง ๒ นี้ แจกเป็นแบบเดียวกันทั้งปุ๋ลิงค์และอิตถีลิงค์ [๒๒] วิเสสนสัพพนามนั้น คล้าย ๆ กับคุณนาม แต่มีวิธีแจก ไม่เหมือนคุณนาม แบ่งเป็น ๒ อนิยม นิยม, ศัพท์เหล่านี้ คือ ย อญฺญ, อญฺญตร. อญฺญตม, ปร, อปร, การ, กาม, เอก, เอกจจ สพฺพ, ก, เป็น อนิยม, ต, เอต, อิม, อม, เป็น นิยม. ย ศัพท์นั้น พิจารณาเห็นว่า ไม่เป็นอนิยมแท้ทีเดียว เพราะเข้ากับ ตุมห อมห ศัพท์ก็ได้ แต่เมื่อประสงค์แปล ย ศัพท์ว่า "ใด" แล้ว ก็ดูเหมือน เป็นอนิยมแท้, วิเสสนสัพพนาม ๒ อย่าง ที่กล่าวมาแล้วนี้ เป็น ไตรลิงค์ แจกได้ทั้ง ๓ ลิงค์ ในสัพพนามทั้งปวงไม่มีอาลปนะ วิธีแจกปุริสสัพพนาม [๘๓] ต ศัพท์ ใน ปุ๊ลิงค์ แจกอย่างนี้: เอก. พหุ. ป. โส เต ทุ ติ น เต เน ต. เตน เตชิ จ. ปญฺ. ต ส อ ส ตสฺส อสมา ตมหา เตสิ เตสานํ เนส เนสานํ เตหิ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More