บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาคที่ 2 นามและอัพพยศัพท์ หน้า 53
หน้าที่ 53 / 78

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับบาลีไวยากรณ์ในส่วนที่พูดถึงนามและอัพพยศัพท์ ถูกนำเสนออย่างชัดเจนเพื่อให้ผู้เริ่มต้นสามารถเข้าใจและใช้ภาษาได้อย่างถูกต้อง โดยเจาะลึกถึงการใช้คำในประถมบุรุษ สอนให้นำเอานามศัพท์ที่เป็นสัพพนามมาใช้ในการแปลเพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการผูกประโยคและการแจกวิภัตติ ตัวอย่างเช่น การแปลว่า "โส อาจริโย" สำหรับคำที่มีบริบทในตัวอย่างเพื่อผลักดันความเข้าใจไปข้างหน้าอย่างเป็นระบบเพื่อไม่ให้สับสนในการเรียนรู้

หัวข้อประเด็น

-บาลีไวยากรณ์
-การศึกษาในบาลี
-นามและอัพพยศัพท์
-การแปลในภาษาบาลี
-การใช้ประโยคและวิภัตติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ - หน้าที่ 81 อนิจฺจํ ตญฺหิ อุปฺปชฺชิตวา นิรุชฺฌติ, นามรูป ไม่เที่ยง เพราะว่า ๒ ๓๔ ๕ มัน เกิดขึ้นแล้ว ย่อมดับไป " ค ๕ ๖ ๖ ๒ ๔ เพราะคำที่ใช้ในประถมบุรุษ ในภาษาของเรามาก จะใช้ยืน เป็นแบบเดียวไม่ได้ ครั้นจะใช้ยักเยื้องไปต่าง ๆ ก็จะพาให้กุลบุตร แรกศึกษา สังเกตยากหรืออย่างไรแล ท่านจึงสอนให้ยกเอานามศัพท์ ที่สัพพนามเล็งเอาขึ้นแปลด้วย เหมือนอุทาหรณ์ที่ต้น ต้องแปลว่า "โส อาจริโย อาจารย์นั้น" ในอุทาหรณ์ที่สอง ต้องแปลว่า "สา มลุลิกา นางเทวี นางมัลลิกานั้น" ในอุทาหรณ์ที่สาม ต้องแปลว่า "ต์ นามรูป์ นามรูปนั้น" ดังนี้ แต่ที่ยกเอานามศัพท์ขึ้นแปลด้วยนี้ ก็เป็นอุบายที่จะให้ผู้แรกศึกษาเข้าใจความได้ชัด และฉลาดในการที่จะ แจกวิภัตติและผูกประโยค เพราะฉะนั้น แปลต่อไปข้างหน้า จะต้อง ใช้ตามแบบที่เคยใช้มาแต่ก่อน ไม่เปลี่ยนแปลง ต ศัพท์ ที่ท่านเขียนไว้กับนามศัพท์ หรือ ตุมห อมห ศัพท์ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลว่า "นั้น" อุทาหรณ์ว่า :- อภิญฺญาย โข โส ภควา ธมฺม เทเสติ โน [เทเสติ] ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ය อนภิญญาย พระผู้มีพระภาคเจ้า นั้น ย่อมแสดง ซึ่งธรรม ကေ ๖ & เพื่อความรู้ยิ่ง แล ไม่ [แสดง] เพื่อความไม่รู้ยิ่ง, เอกมนต์ 0 ៨
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More