บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒: นามและอัพพยศัพท์ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาคที่ 2 นามและอัพพยศัพท์ หน้า 58
หน้าที่ 58 / 78

สรุปเนื้อหา

บทนี้เน้นการศึกษาเรื่องวจีวิภาคในบาลี โดยให้ความสำคัญกับการแจกศัพท์ที่มีส่วนท้ายเป็น จิ และการแปลความหมายในบริบทต่าง ๆ รวมถึงการใช้รูปแบบพหุและเอกในการแสดงออกทางภาษา เช่น 'โกจิ' สำหรับชายบางคน หรือ 'กาจิ' สำหรับหญิงบางคน ทั้งยังรวมถึงการประยุกต์ใช้กับคำอื่นๆ ที่มีรูปแบบคล้ายกัน เช่น 'เกจิ' ที่หมายถึงชนทั้งหลาย นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงศัพท์ในบริบทของการเปรียบเทียบและการอ้างอิงถึงสิ่งต่างๆ ในรูปแบบที่ซับซ้อนมากขึ้น

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาไวยากรณ์บาลี
-วจีวิภาค
-นามและอัพพยศัพท์
-การแจกศัพท์
-การแปลความหมาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ - หน้าที่ 86 นอกนั้น แปลงเป็น ก แล้วแจกในไตรลิงค์ เหมือน ย ศัพท์ ก ศัพท์ ที่แจกด้วยวิภัตติในไตรลิงค์นี้ มี จิ อยู่ท้ายศัพท์ แปลว่า "น้อย" บ้าง "บางคน หรือ บางสิ่ง" บ้าง เป็นคำให้ว่าซ้ำสอนหน เหมือนในภาษาของเราเขียนรูป "ๆ" ดังนี้บ้าง อุ. ว่า "โกจิ ชาย บางคน หรือ ใคร ๆ " "กาจิ อิตถี หญิงบางคน หรือ หญิงไร ๆ" "กิญจิ วตฺถุ ของน้อยหนึ่ง หรือของบางสิ่ง" ถ้าเป็นพหุวจนะ แปลว่า "บางพวก หรือ บางเหล่า" อุ. ว่า "เกจิ ชนา ชน ทั้งหลายบางพวก กาจิ อิตถี หญิงทั้งหลายบางพวก กานิจ กุลาน ตระกูลทั้งหลายบางเหล่า" ถ้ามี ย นำหน้า มี จิ อยู่หลัง แปลว่า "คนใดคนหนึ่ง หรือ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง" อุ. ว่า "โย โกจิ เทโว วา 0 ๒ มนุสฺโส วา เทวดาหรือ หรือมนุษย์ คนใดคนหนึ่ง, ยา กาจิ เวทนา ๓ ๒ ๒ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนา เวทนา อย่างใดอย่างหนึ่ง ล่วงแล้วหรือยัง ๒ ไม่มาหรือเกิดขึ้นเฉพาะแล้ว, ยงกิญจิ วิตต์ อิธ วา หร์ วา ๒๓ ๔ ทรัพย์เครื่องปลื้มใจ อันใดอันหนึ่ง ในโลกนี้หรือ หรือในโลกอื่น." ๒ ๔ ทั้ง ย ทั้ง ก นี้ แจกด้วยวิภัตติใด ๆ ก็ต้องเปลี่ยนเป็นรูป ๆ วิภัตตินั้น ๆ แล้วเอา จิ ไว้ท้ายศัพท์ เหมือนดังนี้ เอก, ท. ยังกิญจิ ต. เยน เกนจิ, จ. ยสฺส กสฺสจิ, พหุ, ป. ท. เย เกจิ, ต. เยหิ เกจิ, จ. เยส์ เกสญฺจิ เป็นต้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More