บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาคที่ 2 นามและอัพพยศัพท์ หน้า 30
หน้าที่ 30 / 78

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาของเอกสารนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับบาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ โดยเฉพาะการใช้คำต่างๆ เช่น 'นฺตุ', 'นา', และศัพท์อื่นๆ ที่มีความหมายเฉพาะในบริบทของภาษาบาลี นอกจากนี้ยังพูดถึงลักษณะการใช้คำที่มีความแตกต่างกัน เช่น 'ภควนฺตา', 'ภควนฺเต', และ 'ภควนฺโต' ซึ่งมีการใช้ในรูปแบบและจำนวนที่แตกต่างกันในภาษา การพิจารณาคุณนามต่างๆ และการแจกศัพท์จึงเป็นหนึ่งในแนวทางการศึกษาภาษาบาลีที่สำคัญ สามารถนำไปใช้ในการศึกษาภาษาต่อได้ในอนาคต

หัวข้อประเด็น

-บาลีไวยากรณ์
-วจีวิภาค
-นาม
-อัพพยศัพท์
-ศัพท์ในภาษาบาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ - หน้าที่ 58 ๓ เอา นฺตุ กับ นา เป็น ตา, กับ ส เป็น โต, กับ นํ เป็น ต. กับ สฺมึ เป็น ติ. ๔ สมา มีคติแห่ง นา. ๕ เอา นฺตุ กับ อาลปนะ เอก. เป็น อ เป็น อา, แบบนี้ เอา อุ ที่ นฺตุ เป็น อ แล้วแจกเหมือน อ การันต์ ใน ปั, บ้างก็ได้ ศัพท์เหล่านี้ แจกเหมือน ภควันต อายสฺมนฺตุ คนมีอายุ ธิติมนต คนมีปัญญา คุณวนฺตุ คนมีคุณ ปญฺญวนต คนมีปัญญา จกฺขุมนต คนมีจักษุ ปุญญวนๆ คนมีบุญ ชุติมนฺตุ คนมีความโพลง พนธมนต คนมีพวกน้อง ธนวนตุ คนมีทรัพย์ สติมนฺตุ คนมีสติ က คำว่า ภควนฺตา ภควนฺเต ภควนฺโต นั้น มีวิธีใช้ไม่เหมือนกัน ภควนฺตา ภควนฺเต ใช้เป็น ทวิวจนะ สำหรับกล่าวถึงคน ๒ คน ภควนฺโต ใช้เป็น พหุวจนะ สำหรับกล่าวถึงคนมาก ตั้งแต่ ๓ ขึ้นไป ศัพท์นี้ เมื่อพิจารณาตามลักษณะ ก็เป็นคุณนามแจกได้ทั้ง ๓ ลิงค์ แต่อาศัย ภควนฺตุ ศัพท์ ท่านใช้เฉพาะแต่ปุ๊ลิงค์อย่างเดียว ไม่ใช้ ใน อิตถีลิงค์ และ นปุสกลิงค์ จึงสงเคราะห์เข้าเป็นนามนามเสีย ใช้ เป็นบทคุณของศัพท์อื่นไม่ได้, ศัพท์อื่นนอกจากนี้มี คุณวนต เป็นต้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More