บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาคที่ 2 นามและอัพพยศัพท์ หน้า 6
หน้าที่ 6 / 78

สรุปเนื้อหา

บทเรียนเกี่ยวกับบาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ เน้นการแยกแยะระหว่างเอกวจนะและพหุวจนะ พร้อมตัวอย่างคำศัพท์ต่างๆ เช่น จณฺโฑ, ดุร้าย, และคำที่มีความหมายทางศาสนา เช่น ธมฺมิโก เป็นต้น สำหรับผู้ที่สนใจด้านบาลีเป็นอย่างมากสามารถศึกษาเครื่องหมายและการใช้งานคำเหล่านี้ได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-เอกวจนะ
-พหุวจนะ
-การศึกษาบาลี
-ตัวอย่างคำศัพท์
-ไวยากรณ์บาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ - หน้าที่ 34 จณฺโฑ จณฑา จณฺฑ์ ดุร้าย เชฺโฐ เชฏฐา เชฎฐิ เจริญที่สุด ตาโณ ตาณา ตา ต้านทาน กิโร ถิรา ถิร์ มั่น ทกฺโข ทกขา ทกข์ ธมฺมิโก ธมฺมิกา ธมฺมิก นาโถ นาถา นากิ ขยัน ตั้งในธรรม ทพง ปาโป ปาปา ปาป๊ บาป โภคี โภคินี โภคิ มีโภคะ มติมา มตมต มติม มีความคิด ลาภี ลาภินี ลาภิ มีลาภ สทฺโธ สทฺธา สทฺธ์ มีศรัทธา. วจนะ [๔๓] คำพูดในบาลีภาษา จัดเป็น วจนะ ๒ คือ เอกวจน คำพูดสำกรับออกชื่อของสิ่งเดียว ๑ พหุวจน คำพูดสำหรับออกชื่อ ของมากกว่าสิ่งเดียว คือ ตั้งแต่ ๒ สิ่งขึ้นไป ๑, วจนะ ทั้ง ๒ นี้ มี เครื่องหมายให้แปลกกันที่ท้ายศัพท์ เหมือนคำว่า ปุริโส ชายคนเดียว เป็นเอกวจนะ ปุริสา ชายหลายคน เป็นพหุวจนะ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More