บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ - หน้าที่ 104 บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาคที่ 2 นามและอัพพยศัพท์ หน้า 76
หน้าที่ 76 / 78

สรุปเนื้อหา

บทนี้เสนอหลักการและการใช้คำในบาลี รวมถึงการลงท้ายที่ใช้เป็นเครื่องหมายวิภัตติและกิริยา เช่น คำว่า 'โต' ที่แสดงถึงตำแหน่ง 'ข้าง', 'แต่' เป็นต้น โดยมีการแสดงความหมายของคำต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อความหมาย เช่น ข้างหน้า ข้างซ้าย ข้างขวา และอีกมากมาย ที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจการใช้งานในบริบทต่างๆ.

หัวข้อประเด็น

-หลักการของบาลีไวยากรณ์
-เครื่องหมายวิภัตติ
-การใช้คำในภาษาบาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ - หน้าที่ 104 ปภูติ จําเดิม สทฺธิ์ พร้อม, กับ ปุน อีก สณิก ค่อย ๆ ปุนปฺปุนํ บ่อยๆ สย เอง ภิยโย ยิ่ง สห กับ ภิยโยโส โดยยิ่ง สาม เอง [๕๓] ปัจจัยนั้น ลงท้ายนามศัพท์ เป็นเครื่องหมายวิภัตติบ้าง ลงท้ายธาตุ เป็นเครื่องหมายกิริยาบ้าง อย่างนี้ :- โต ปัจจัย เป็นเครื่องหมายตติยาวิภัตติ แปลว่า "ข้าง" เป็นเครื่องหมายปัญจมีวิภัตติ แปลว่า "แต่" เป็นต้น ดังนี้ :- สพฺพโต แต่-ทั้งปวง ปุรโต ข้างหน้า อญฺญโต แต่-อื่น ปจฺฉโต ข้างหลัง อญฺญตร โต แต่-อันใดอันหนึ่ง ทกฺษิณ โต ข้างขวา อิตร โต แต่-นอกนี้ วามโต ข้างซ้าย เอก โต ข้างเดียว อุตตร โต ข้างเหนือ อุภโต สองข้าง อธร โต ข้างล่าง ปรโต ข้างอื่น ยโต แต่-ใค ตโต แต่-นั้น อมุโต แต่-โน้น เอโต อโต แต่-นั่น การโต แต่-อะไร อิโต แต่-นี้ กุโต แต่-ไหน อปรโต ข้างอื่นอีก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More