บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาคที่ 2 นามและอัพพยศัพท์ หน้า 68
หน้าที่ 68 / 78

สรุปเนื้อหา

บทนี้นำเสนอเกี่ยวกับการวิเคราะห์และตีความคำบาลีอย่างละเอียด โดยเฉพาะในส่วนของนามและอัพพยศัพท์ ซึ่งแบ่งแยกตามหน้าที่และหลักการใช้งานในการสร้างประโยค บางคำมีการนำหน้านำเข้าอิทธิพลที่ส่งผลต่อความหมายของคำ ซึ่งอาจทำให้ความหมายเปลี่ยนไปจากเดิม ทั้งยังมีการเปรียบเทียบด้วยคำอื่น ๆ เช่น สวรติ และ วิวาติ ที่แสดงถึงความเข้าใจในภาษาได้อย่างลึกซึ้ง http://dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์คำบาลี
-การเปลี่ยนแปลงความหมาย
-นามและอัพพยศัพท์
-ความละเอียดในการใช้ภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์ - หน้าที่ 96 ปริ ปริญญา ความรอบรู้ ปริพฺภมติ หมุนรอบ วิ วิชานิติ รู้ แจ้ง วิวิโธ มีอย่างต่าง ๆ วิเศษ ส สญฺจรติ เที่ยวไป พร้อม สญฉวี มีผิวดี. กับ สุ สุนกฺขตต์ ฤกษ์ดี สุเนตฺโต คนมีตางาม สุกร ทำง่าย ในอุปสัคเหล่านี้ บางตัวนำหน้ากิริยาแล้ว ก็ชักให้กิริยามี เนื้อความต่างไปจากความเดิม เหมือนคำว่า สวรติ ปิด มี วิ นำหน้า เป็น วิวาติ มีเนื้อความวิปริตจากเดิม ประสงค์เอาความว่า "ปิด" ขมติ ย่อมอดทน มี นิ นำหน้า เป็น นิกขมติ ประสงค์ความว่า "ย่อมออก" เป็นต้น. นิบาต [๕๒] นิบาต นั้น สำหรับลงในระหว่างนามศัพท์บ้าง กิริยาศัพท์ บ้าง บอก อาลปนะ กาล ที่ ปริเฉท อุปไมย ปฏิเสธ ความ ๑. ในสัททนีติว่า กม ปทวิกเขป คือ ภมุ ธาตุ ในอรรถว่า ก้าวไป, ย่างไป เมื่อมี นิ นำหน้า สำเร็จรูปเป็น นิกกมติ, นิกขมติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More