ผู้พึงงามสู่ความเพียร มิลินทปัญหา หน้า 19
หน้าที่ 19 / 91

สรุปเนื้อหา

การฝึกหัดตามคำสอนของพระโยคาวจรนั้น มีความสำคัญมากในการทำให้จิตใจมั่นคงและต่อสู้กับทุกข์ โดยการรักษาศีลและมีสติปฐฐานในกาย พระโยคาวจรแนะนำให้รักษาความไม่งามและทำจิตให้ตรง และควรตระหนักถึงความไม่มั่นคงของกาย ซึ่งเป็นสิ่งที่มีทุกข์และความแปรปรวน การทำความเข้าใจนี้จะช่วยให้เราสามารถทำงานและดำเนินชีวิตได้ด้วยความหนักแน่นและไม่หวั่นไหว ปัญหาต่างๆ หรืออุปสรรคในชีวิตไม่ควรทำให้เราหวั่นไหวหรือเลื่อนลอยหากเรามีความรู้แล้วจะช่วยให้เราหาทางออกได้

หัวข้อประเด็น

-การฝึกจิตใจ
-การรักษาศีล
-ความไม่มั่นคงของกาย
-การต่อสู้กับทุกข์
- ความเพียรในการดำเนินชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ผู้พึงงามสู่ความเพียร พระโยคาวจร ก็ควรหยิบพื้นดิน คือ ศีล ด้วย เท้า คือวิธี ให้มั่นคง ทำขันติ-โล๊ะจะไม่ให้ไหว สรรพใจและกาย บีบิกลส ต้นหาให้แน่น กระทำจิตไม่ให้ช่องว่าง ด้วยโยนิสมพิลิกา* ประคอง ความเพียร ปิดประตูทั้ง ๗* เสย ตั้งสติไว้ ทำให้เกิดความรำเรืองว่า เราจักยิงกลดทั้งปวง ด้วยลูกคร คือนญาณ ณ บัดนี้ ประกาวที่ ๒ ธรรมดานายมังธูง ย่อมนรักษาไม่งามไว้ เพื่อ ดัดลูกธนที่คดงอให้ตรง ฉันใด พระโยคาวจร ก็ควรรักษาไม่งาม คือ สติปฐฐานในกายนี้ เพื่อทำจิตให้คง ให้ตรง ฉันนั้น ประกาวี้ ๓ ธรรมดานายมังธูง ย่อมเผิ้งที่หมายไว้แน่นแน่ ฉันใด พระโยคาวจร ก็ควรเผิ้งกายนี้ ฉันนั้น ควรเผกาน้อยอย่างไร ? ควรเผ่าว่า กายนี้เป็นนิจกัจ ทุกขัง อนัตตา เป็นโรค เป็น หัว่ เป็นลูกคร เป็นต้นเหตุแห่งทุกข์ เป็น ของทำให้ลำบาก เป็น ของแปรปรวน เป็นของแตกหัก เป็นของจุไระ เป็นของอูบาทิ เป็นภัย เป็นอุปสรรค เป็นของหวั่นไหว เป็นของผู้งขัง เป็นของไม่ยั่งยืน ไม่มี ที่หลบหลี้ ไม่มีที่ต้านทาน ไม่มีที่อาศัย เป็นของวัง เป็นของ เปล่า เป็นของมีโทษ เป็นของมีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา ไม่มี แก่น เป็นรากเหง้าแห่งภัย เป็นผู้งำ เป็นของมิอาศะเครื่องดง เป็นของน่าลงสัย เป็นของปรุงแต่ง เป็นเหี่ยแหน่มาร มีความเกิด แก่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More