ความเพียรและการควบคุมตนในพระพุทธศาสนา มิลินทปัญหา หน้า 39
หน้าที่ 39 / 91

สรุปเนื้อหา

ในบทรายงานนี้กล่าวถึงความสำคัญของความเพียรและการควบคุมการบริโภคในพระพุทธศาสนา โดยมีการอ้างอิงถึงคำสอนของพระสาริจตุเถระเกี่ยวกับการไม่ควรฉันให้เกินขนาด ควรให้ท้องพร่องเพื่อไม่ให้เกิดความเกียจคร้าน และเน้นความสำคัญของการหลีกเลี่ยงทุจริต พูดถึงทั้งทางด้านจิตใจและการละเว้นจากสิ่งที่ไม่ดี เพื่อให้การใช้ชีวิตมีความหมายตามแนวทางของพระพุทธศาสนา โดยทุกวันที่ผ่านมาไม่สามารถกลับคืนได้ จึงควรใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่า.

หัวข้อประเด็น

-การควบคุมการบริโภค
-ความเพียรในพระพุทธศาสนา
-การหลีกเลี่ยงทุจริต
-ความสำคัญของเวลา
-การตั้งตนในทางที่ถูกต้อง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ผู้ STILLลงสูความเพียร ข้อสรุปกับคำของพระสาริจตุเถระว่า กิริยผู้นั้นอาหารทั้งสดและแห้ง ไม่ควรฉันให้อิ่มนาน ควรให้ท้องพร่อง รู้จักประมาณในอาหาร ควรมิควรสิต ละวัน ไม่ฉันให้อิ่มเกินไป เมื่อรู้ว่าอีก ๔-๕ คำ จักอิ่ม ก็ ควรดื่มน้ำเสีย เพราะเท่านี้ก็พออยู่สบายสำหรับกิริยผู้อัดความเพียรแล้ว ข้าแต่พระนาคาเสน ที่ควรถือเอาของ ค ๓ แห่งง นั้น เป็นประการใด องค์ ๓ แห่งง ได้แก่ ประการที่ ๑ ธรรมดา ย่อมไปด้วยดอก ฉันใด พระโยคาวร ก็ควรหลีก เว้นทุจริต ฉันใด พระโยคาวร ก็ควรหลีก เว้นทุจริต ฉันใด ประการที่ ๒ ธรรมดา เมื่อเที่ยวไป ย่อมหลีก เว้นยาแก้พิษ ของตน ฉันใด พระโยคาวร ก็ควรหลีก เว้นทุจริต ฉันใด พระโยคาวร เมื่อพบเห็นมนุษย์แล้ว ย่อมทุกข์โศก ฉันใด พระโยคาวร เมื่อถึงวัฏฏิที่ไม่ดีแล้ว ก็ ควรทุกข์ และเสียใจว่า วันของเราได้ล่วงไป ด้วยความประมาณเสียแล้ว เพราะวันที่ล่วงไปแล้ว ไม่อาจได้คืนมาอีก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More