การนั่งคู่ลิงค์และพระโยคาวจร มิลินทปัญหา หน้า 30
หน้าที่ 30 / 91

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงคำสอนของพระสรัญญูเถรเกี่ยวกับการนั่งคู่ลิงค์และการใช้ชีวิตของพระโยคาวจรที่ควรเลียนแบบธรรมชาติของเนื้อในป่า โดยมีการเปรียบเทียบให้เห็นถึงการอยู่ในป่า การหลบหลีกอันตราย และการมุ่งสู่พระนิพพาน ที่ชี้ให้เห็นว่าพระโยคาวจรควรมีความระมัดระวังในชีวิตประจำวันและไม่ควรเข้าหรือเห็นผู้ที่มีความอิจฉาและเกียจคร้าน เพื่อดำเนินการฝึกฝนตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หัวข้อประเด็น

-การนั่งคู่ลิงค์
-พระโยคาวจร
-ธรรมชาติของเนื้อในป่า
-การปฏิบัติธรรม
-การหลบหลีกกิเลส

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ส่วนพระสรัญญูเถรเจ้า กล่าวไว้ว่า การนั่งคู่ลิงค์ หรือ นั่งคุกเข่า ก็พออยู่สบายสำหรับพระภิกษุ มุ่งต่อพระนิพพานแล้ว ?? ข้าแต่พระนาคเสน ที่ว่าควรถอดง์ ๓ แห่งเนื้อในป่า นั้นเป็นภาพใด องค์ ๓ แห่งเนื้อในป่า ได้แก่ ประการที่ ๑ ธรรมดาเนื้อในป่า ย่อมเที่ยวไปในป่า ในเวลา กลางคืน ในที่แจ้ง ฉันใด พระโยคาวจร ก็ควรอยู่ป่าในเวลากลางวัน ข้อสนับกับพระพุทธพจน์ ว่า ดูก่อนสารีบุตร เราออยู่ในที่แจ้งในเวลาล่ำกลางคืนในหน้าหนาว ส่วนเดือนสุดท้ายแห่งฤดูร้อน ในเวลา กลางวันเราอยู่ในที่แจ้ง ในเวลาล่ำกลางคืนเราอยู่ในป่า ประการที่ ๒ ธรรมดาเนื้อในป่า ย่อมรู้จักหลบหลีกลูกศร ฉันใด พระโยคาวจร ก็ควรรู้จักหลบหลีกกิเลส ฉันนั้น ธรรมดาเนื้อในป่า เมื่อเห็นมนุษย์แล้วอย่าวิ่งหนี ด้วยคิดว่า อย่าใหมนุษย์ได้เห็นเราเลย พระโยคาวจร เมื่อเห็นพวกคฤหัส พวกเกียจคร้าน พวกยินดีในมุรคณะ ก็ควรรืนไปด้วยคิดว่า อย่าให้พวกนี้ได้เห็นเรา และอย่าให้เราได้เห็นคนพวกนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More