ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - บาลีไวยากรณ์ วากยสัมพันธ์ - หน้าที่ 218
(๑๕๒) บทนามนาม ที่ประกอบด้วยตติยาวิภัตติ ใช้ในอรรถ
5 อย่าง เข้ากับกิริยาบ้าง เข้ากับนามบ้าง เข้ากับอัพยยศัพท์บ้าง
ดังนี้ :-
๑.
เป็นวัตถุเครื่องทำ (ด้วย) เรียกชื่อว่า กรณ์, อุ, กาเยน
กมฺม กโรติ.
๒. เป็นทางเครื่องแปลก (โดย, ตาม.) เรียกชื่อว่า ตติยา
วิเสสน์, อุ. ทักขิเณน ปสฺเสน สีหเสยฺย์ กปฺเปติ, มม วจเนน
เอว วเทหิ.
๓.
เป็นผู้ทำและผู้ใช้ให้ทำ ในพากย์ที่เป็นภาววาจกและกรรม
วาจก เหตุกรรมวาจก และในกิริยาพากยางค์ (อัน) เรียกชื่อว่า
อนภิหิตกตฺตา, อุ. สมเณน นาม สุสุสมเณน ภวิตพฺพ, อุโปสโก
สงฺเมน อนุมาเนตพฺโพ, พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ
ญาเปตพฺโพ. อนุชานามิ ภิกฺขเว คิลาเนน ภิกฺขุนา ปาริสุทธิ์
ทาตุ๊.
๔. เป็นเหตุ (เพราะ) เรียกชื่อว่า เหตุ, อุ. ลาเกน อุนุนโต
โลโก, อลาเภน จ โอนโต.
๕. เป็นอาการ (มี, ด้วย, ทั้ง) เรียกชื่อว่า อิตถมภูติ
อุ. มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา
๖. เป็นเครื่องประกอบ (กับ) เรียกชื่อว่า สหตุถตติยา
อุ. สหาปิ คคฺเคน สงฺโฆ อุโปสถ์ กเรยย, เอก สมย์ ภควา