บาลีไวยากรณ์ วากยสัมพันธ์ บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์ หน้า 11
หน้าที่ 11 / 46

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการใช้กิริยาในภาษาบาลี แบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ เช่น ปริโยสานกาลกิริยา, สมานกาลกิริยา และ อปรกาลกิริยา โดยอธิบายถึงความหมายและการนำไปใช้ในประโยค นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงการใช้วิเสสน์และกริยาวิเสสน์ในบริบทต่างๆ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกิริยาหมายความได้อย่างไรในประโยคต่างๆ เพื่อให้เข้าใจวิธีการใช้บาลีได้อย่างถูกต้อง dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การใช้กิริยาในบาลี
-ประเภทของกิริยา
-การวิเคราะห์วากยสัมพันธ์
-การใช้วิเสสน์ในประโยค
-การเรียนรู้ไวยากรณ์บาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

1224 ประโยค - บาลีไวยากรณ์ วากยสัมพันธ์ - หน้าที่ 22 ข. ถ้าเป็นกิริยาที่กล่าวซ้ำกับกิริยาข้างต้น แสดงว่าทำสำเร็จแล้ว เรียกชื่อว่า ปริโยสานกาลกิริยา, อุ, เยน ภควา, เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตวา----นิสีทิ ค. ถ้าเป็นกิริยาที่ทำพร้อมกับกิริยาอื่น, เรียกชื่อว่า สมาน กาลกิริยา, อุ, ฉัตต์ เหตุวา คนติ, ในที่นี้ ประสงค์คนเดิม กั้นร่ม, ไม่ได้มุ่งกิริยาที่จับร่มก่อนแล้ว จึงไป ฆ. ถ้าเป็นกิริยาที่ทำทีหลังกิริยาอื่น, เรียกชื่อว่า อปรกาล กิริยา, อุ, ธมมาสเน นิสีทิ จิตตวีชนี เหตุวา, ในที่นี้ ประสงค์ว่า พระธรรมกถึก ขึ้นนั่งบนธรรมาสน์แล้ว จึงจับพัดที่เขาวางไว้สำหรับ บนธรรมาสน์นั้น อย่างบนธรรมาสน์ที่เทศนาในวันธัมมัสสวนะ, ไม่ ได้มุ่งความว่า พระธรรมกถึกนั่งตั้งพัดให้ศีลอยู่บนธรรมาสน์, ถ้ามุ่ง ความตามนัยหลัง ต้องเรียกชื่อว่า สมานกาลกิริยา ง. ที่ไม่สงเคราะห์เข้าในอรรถเหล่านี้ ถ้าเข้ากับนาม, เรียกว่า วิเสสน์. อุ. เปตวา เทว อคฺคสาวเก อวเสสา อรหัตต์ ปาปุณสุ ถ้าเข้ากับกิริยา, เรียกว่า กริยาวิเสสน์, อุ, ติณี รัตนาน เปตวา อญฺญ์ เม ปฏิสรณ์ นตฺถิ จ. ถ้ามีกตฺตาต่างจากกิริยาหลัง, เรียกชื่อว่า เหตุ, อุ, สีห์ ทิสวา ภย์ อุปปชชติ, ในที่นี้ ทิสวา เป็นกิริยาของ บุคคโล อุปฺปชฺชติ เป็นกิริยาของ ภัย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More