บาลีไวยากรณ์ วากยสัมพันธ์ บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์ หน้า 21
หน้าที่ 21 / 46

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงแนวคิดในบาลีไวยากรณ์ที่เกี่ยวข้องกับวากยสัมพันธ์ โดยแสดงตัวอย่างอุทาหรณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างของประโยคและความหมายของคำในบริบทต่างๆ อาทิ อนุวยโชตโก และนิบาต ๓ ศัพท์ รวมถึงการปรับเปลี่ยนความหมายผ่านการปฏิเสธหรืออนุโลม ซึ่งทำให้เข้าใจหลักการเสนอภาษาได้ดีขึ้น. ข้อมูลที่นำเสนอสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv.

หัวข้อประเด็น

-หลักการไวยากรณ์บาลี
-วากยสัมพันธ์
-อนุวยโชตโก
-อุทาหรณ์ในบริบทบาลี
-การปฏิเสธและอนุโลมในภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยากรณ์ วากยสัมพันธ์ - หน้าที่ 233 ส่องความอีกฝ่ายหนึ่ง, จงดูอุทาหรณ์เทียบ ในทัฬหกรณโชติกนิบาต (๒) อุทาหรณ์สุดท้ายเถิด, ปน ในคำว่า อิตถิโย ปน ฯเปฯ ปฏิลภนฺติ, เรียก ปกฺขนฺตร โชตโก. อันวยโชตกนิบาต 8. ถ้าความท่อนต้นกล่าวปฏิเสธ คือมี ไม่ ๆ อย่าๆ ความ ท่อนหลังกล่าวอนุโลม คือไม่ใช้ปฏิเสธ แต่คล้อยตามความท่อนต้น นิบาตในความท่อนหลัง เรียกชื่อว่า อนุวยโชตโก, ในอรรถนี้ใช้ นิบาต ๓ ศัพท์ คือ หิ, จ, ปน, ตรงความไทยว่า อัน, มีอุทาหรณ์ ดังนี้: ยาจกา นาม มจฺฉริชเน "เทพี" ติ น ยาจนฺติ, เกวล ปโพธยนฺติ "สามิ ตว์ปี มี ปุพเพ ทานสฺส อทินุนตาย อวตถก ปาลหตุ วิจรนต์ ปสฺส, ตว์ มาทิโส มา ภวา" ติ. มจฺฉริชนา ปน "เทพี" ติ วจนมตฺติ สุตวา ฆเร สพพ์ วิภว์ ขย วัย สมุปสฺสมานา กากณิกปิ ทาตุ อสกโกนตา ปริภาสนฺติ (ฎีกา คันณัฏฐิ) ปน ในความท่อนหลัง เรียก อนุวยโชตโก, อุทาหรณ์ ผูกไว้เป็นแบบเทียบดังนี้: พาโล นาม น วิสสาสิตพุโฑ, โส จ มิตฺตทุพฺภี โหติ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More