ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ์ วากยสัมพันธ์ - หน้าที่ 239
ปาปาน กมมานิ กร พาโล น พุชาติ, เสหิ กมฺเมหิ ทุมเมโธ
อคฺคิทตฺโตว ตปปติ, ในอรรถนี้ ใช้ อปเปวนาม, ยนนูน ที่ตรง
ต่อนิบาตไทยว่า ถ้าไฉน, ถ้าอย่างไร, บ้าง, อุ. อปเปวนาม มยมปิ
อายสฺมนฺตานํ กิญจิตต์ อนุปปทชเชยยาม, ยนนูน มยมฺปิ เยน
ภควา เตนุปสงฺกเมยยาม
อนุคคหัตถ และ อรุจิสูจนัตถนิบาต
5. ในความ ๒ ข้อ ข้อต้นพูดคล้อยตาม เรียกว่า อนุคฺคโห,
ข้อหลังพูดแสดงความไม่เห็นด้วย เรียกว่า อรุจิสูจโน, ในอนุคคหะ
ใช้นิบาต ๓ ศัพท์ คือ กิญจปิ, ยูทิป, กาม หรือ กามญฺจ,
เรียกชื่อว่า อนุคฺคหตฺโถ ตรงต่อนิบาตไทยว่า ถึง, ซึ่งใช้หน้า
คำพูด, แม้น้อยหนึ่ง, ซึ่งใช้หลังคำพูด, ในอรุจิสูจนะใช้นิบาต ๓
ศัพท์ คือ ตถาปิ, ปน, อถโข เรียกชื่อว่า อรุจิสูจนตฺโถ
ตรงต่อนิบาตไทยว่า แต่, ถึงอย่างนั้น, ที่แท้, ซึ่งใช้หน้าคำพูด
อุ, กิญจาปิ ปญฺจ กามคุณา กาทาจิ สุข อุปปาเทนฺติ,
ตถาปิ วิปริณามญฺญถาภาวา ทุกขาการณ์เยวาติ ทฏฺฐพฺพา, ยที่ปิ
อาจริโย สิสฺเส ตาเพติ, เตสุ ปน อนุกมป์ กโรติ: กามญจ
ธน์ อิจฉิติจนิติ นิปผาเทติ, อถโข ปญฺญาว เสฎฐา ตสฺส
อุปปาทปจฺจยตฺตา.