บาลีไวยากรณ์ วากยสัมพันธ์ บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์ หน้า 31
หน้าที่ 31 / 46

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้มีการอภิปรายเกี่ยวกับนิบาตในบาลีไวยากรณ์ โดยเฉพาะในหมวดของอวธารณัตถนิบาตที่ใช้ในการแสดงความหมายของนาม คุณ และกิริยาอย่างชัดเจน ตัวอย่างที่ได้ให้มานั้นช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจถึงการใช้ภาษาบาลีได้อย่างลึกซึ้ง พื้นฐานในการใช้คำว่า 'อโห' และ 'วต' เพื่อแสดงอารมณ์ต่าง ๆ เช่น ดีใจ เสียใจ และอื่น ๆ ให้เห็นถึงความละเอียดของไวยากรณ์บาลี และมีการยกตัวอย่างการใช้งานในบริบทต่าง ๆ เพื่อให้เข้าใจในวิธีการใช้และความสำคัญ

หัวข้อประเด็น

-นิบาตในบาลี
-บทบาทของอวธารณัตถนิบาต
-การแสดงอารมณ์ในบาลี
-การห้ามนาม และกิริยาต่าง ๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ์ วากยสัมพันธ์ - หน้าที่ 243 ว่า เวคตโถ, ตรงต่อนิบาตไทยว่า โอ้, พุโธ, หนอ, นิบาต พวกนี้ ๒ ศัพท์ คือ อโห, กับ วต. อุ. (หลากใจ) อโห พุทฺธานํ อานุภาโว ! อัจฉริย์ วต โภ ! (เบิกบานใจ) อโห สุข ! สุสุข วต ชีวาม ! (สลดใจ) อโห อนิจจา สงฺขรา ! อนิจจา วต สงฺขารา ! (กรอมใจ) อโห ทุกข์ ! วต ! (๑๖๕) นิบาติหมวดที่ 4 ลงในบท อวธารณัตถนิบาต ๑. นิบาตที่ใช้ห้ามนาม, คุณ, และกิริยาอื่นเสีย เรียกชื่อว่า อาธารณตโถ บ้าง อวธาโร บ้าง ตรงต่อนิบาตไทยว่า เท่านั้น นั่นเทียว, เทียว, แล, เป็นต้น นิบาตพวกนี้ใช้ เอว กับ ว เป็นพื้น ใช้ หิ บ้าง ห่าง ๆ อุ. ตญฺเญเวตฺถ ปฏิปุจนิสสามิ, ติสโส ธนฺธโร เอว. ปพฺพชิสฺสาเมวาห์ ตาต, อิเธกิจโจ อสฺสทฺโธ ว สมาโน 'อโห วต ม ชโน 'สุทโธ" ติ ชาเนยยา" ติ อาฉติ, เอวญ โว ภิกขเว สิกขิตพพ. อุทาหรณ์ที่ ๑ ห้ามนามอื่นว่า ข้าพเจ้า จักถามท่านแล ไม่ถามคนอื่น. ที่ ๒ ห้ามคุณอื่นว่า นายดิสส์เป็นคน ถือธนูเท่านั้น ไม่ได้เป็นอื่น ที่ ๓ ห้ามกิริยาอื่นว่า ข้าพเจ้าจักบวช ให้ได้ ไม่เว้นละ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More