บาลีไวยากรณ์ วากยสัมพันธ์ บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์ หน้า 18
หน้าที่ 18 / 46

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับบาลีไวยากรณ์และวากยสัมพันธ์ โดยยกตัวอย่างอุทาหรณ์เพื่อแสดงให้เห็นถึงความหายากของคนมีบุญและคนมีปัญญา ร่วมไปถึงข้ออุปมาและการใช้ภาษาที่ชัดเจนในการอธิบายความหมาย. ปัญญาถือว่าหายากกว่าบุญในโลกนี้ ด้วยการนำเสนอในรูปแบบนิบาตที่ช่วยส่องความเข้าใจในการกล่าวอรรถ. อาทิเช่น การเปรียบเทียบเกี่ยวกับการนิบาตซึ่งช่วยให้เข้าใจในอรรถได้มากขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-บาลีไวยากรณ์
-วากยสัมพันธ์
-บุญและปัญญา
-อุทาหรณ์
-นิบาต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ์ วากยสัมพันธ์ - หน้าที่ 230 อย่างนั้น มีอุทาหรณ์ดังนี้: ปุญฺญวา ปญฺญวา จาติ อิเม เทว ชนา อิมสฺมึ โลเก ทุลุลภา, เตสุ หิ ปญฺญวาเยว ทุลลาตโร (คันถาภรณนัย.) ความท่อนต้นแสดงคนมีบุญและคนมีปัญญาว่า หายากในโลกโดยอาการที่ไม่แปลกกัน, ความท่อนหลังแสดงแปลก ออกไปว่า คนมีปัญญาหายากกว่า หิ ในท่อนหลังนั้น เรียกว่า วิเสสโชตโก เพราะส่องความที่แปลกออกไป. อุทาหรณ์ผูกไว้เป็น ตัวอย่างดังนี้: ทานปิ กุสล์, สีลิปี กุสล์, เตสุ ปน สีล ทานโต วรตร ตัปปาฏิกรณ์ โชตกนิบาต အာ 5. ถ้าความท่อนต้นกล่าวอรรถไม่ปรากฏชัด, ความท่อนหลัง กล่าวให้ปรากฏชัดด้วยข้ออุปมา, นิบาตซึ่งเป็นเครื่องหมายความข้อนี้ ในท่อนหลัง เรียกชื่อว่า ตาปาฏิกรณโชตโก หรือเรียกสั้นว่า ตปปาฏิกรณ์ แม้ในอรรถนี้ ก็ใช้นิบาต ๓ ศัพท์นั้น, ตรงความไทย ว่า เหมือนอย่างว่า มีอุทาหรณ์ดังนี้: นิคคหิต นาม สร์ นิสสาย ติฏฐิติ, ตสฺม วินภูเฐ อญฺญ์ นิสสาย ติฏฐิติ, ยถา หิ สกุโณ ย์ รุกข์ นิสสาย นิลียติ, ตสฺมี วินภูเจ, อุปปติวา อญฺญ์ นิสัยติ; เอวเมว นิคคหิต ย์ สร์ นิสสาย ติฏฐิติ, ตสฺม วินภูเจ อญญ์ นิสสาย ติฏฐิติ (สารตฺถวิลาสินี ฎีกาคนถฏฐิ) ความท่อนต้น ไม่ปรากฏชัด, ความท่อนหลังมีอุปมาปรากฏชัด, หิ ในท่อนหลัง นั้นเรียกว่า ตาปาฏิกรณโชตโก เพราะส่องอรรถที่ทำความข้อนั้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More