ข้อความต้นฉบับในหน้า
ตัวก็หยายไปเลย เรียบมาก (พระลูกชาย: เพราะจิตเขาอินโนเซนท์ จะง่ายครับคนส่วนใหญจะได้ผงกลมาอะ จะมีอารมณ์ไปกำกับโดยไม่รู้ตัวครับ) ฟังดีทำให้เกิดปัญญา ถ้าฟังไม่ดีก็เกิดปัญหา (พระลูกชาย: คนส่วนใหญ่มักมีวัด เวลานั่งจะเอาจริงเอาจัง มาถึงก็หลับตทันที ซึ่งต้องค่อย ๆ ปรับอารมณ์ก่อนครับ ต้องผ่อนคลายสบาย จุดมองยังไงก็ต้องมี จุดที่ใจเกิดความเพลิน ถ้าไม่สังเกตจะมองไม่เห็น ซึ่งจุดมองยังมีอยู่ แต่เพราะความเคยชินจึงไม่อมหานครับ) เอาจริงก็จะได้ของจริง เอาจริงก็จะฟังทุกที เอาจริงไม่เป็นไร เอาจริงฟังทุกราย
มีบางคนพอแค่ล้มตัวลงนอนก็จะถูกดูไปอยูกลางดวงเลย ซึ่งตอนนั่งก็ไม่ได้อย่างนี้ และถ้าบางคนยังแล้วเห็นภาพต่าง ๆ ซึ่งเป็นภาพที่เป็นกุศล แต่ไม่รู้อยู่ตรงไหน คำถามก็คือ ตกลงใจเขาอยู่ใกล้ตัว ใกล้ตัว หรือกลางตัว แต่ภาพเป็นกุศลนะ ซึ่งเป็นภาพพบต่าง ๆ (พระลูกชาย: ก็อย่าไปปฏิเสธครับ ให้กันใจลิง ๆ แล้วก็มักใจ ปล่อยไปก่อนเดียวภาพก็ไปเอง เหมือนน้ำกำลังเชื่อภาพบุญเข้ามาเราก็อยากไปปฏิสีเดี่ยวภาพก็หายไปครับ) ก็ยังอยู่ในการสังเกต ต้องใช้หลักของการสังเกตให้รำรามณ์สบาย สิ่งที่สำคัญก็คือ การทำให้ต่อเนื่องอย่างสบายน
พระลูกชายนี้เขียนผลการปฏิบัติธรรมมาว่า “ลูกปรับใจสบาย ๆ เมื่อนั่งนะ ลูกนิ่งมิดดวงแก้ว สังกุรรู้สึกว่ามันติง ลูกจึงเปลี่ยนวิธีไม่นึกอะไรังก็นั่งฟัง ลูกจึงเปลี่ยนเป็นทำเฉย ๆ ลูกก็พยายามทำเฉย ๆ ยิ่งทำก็ยิ่งฟัง ยิ่งอัดอั้น เพราะลูกทำผิดวิธี ลูกจึงปล่อยใจไป จะฟังก็ให้พูดไป ปล่อยใจสบาย ๆ ทำใจสบาย ๆ ไม่สนใจอะไร รู้สึกอีกทีใดก็สงบ ไม่พุ่ง” อย่างนี้ทำลูกหลักวิชา เริ่มทำถูกแล้ว
พระลูกชายรูปนี้เหมือนกันเขียนผลการปฏิบัติธรรมมาว่า “ช่วงนี้พอหลับตามใจลูกจะลงไปที่จุดที่สบายเอง แต่จุดที่สบายจะย้ายจุดไปเรื่อย ๆ ครับ” จุดสบายจุดไหนก็เอาไปก่อน แล้วจะย้ายทีตาม ซึ่งทำถูกแล้ว “แต่อยู่ในตัวลูกเอง เวลามีภาพภายใน ลูกจะเหลอไงตามองครับ” ถ้าเหลอมอง เราจะทำอย่างไร? (พระลูกชาย: ให้กลิ่นตา หรือ ตา หลับตาให้แยกพระหว่างการเห็นด้วยลูกนิ่งถ้าด้วยใจ)