ข้อความต้นฉบับในหน้า
ข. พระบัญญัติ คือ สิกขาบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติขึ้น หากมีการบัญญัติเพิ่มเติม เพื่อให้รถุกุมขึ้น เรียกวา อนุบัญญัติ พระบัญญัติธูเน เป็นเนื้อหาหลักของสูตรวิภังค์ ควาวสิกขาบทในพระปฺทมโภชหมายถึง พระบัญญัติ และอนุบัญญัติธูเน มีรวม 227 สิกขาบท ซึ่งส่งผลนําไปสวดในอูปโบสถทุกกึ่งเดือน เรียกว่า สวดปฺทมโภช คำภีร์ที่รวมเอาเฉพาะเนื้อหาสลากขาบทที่ส่งสวดในอูปโบสถทุกกึ่งเดือนเรียกว่า คัมภีร์ปฺทมโภช
ค. สิกขาบทวังค์และภาวทัณฑ์ เป็นการอธิบายความหมายของคำศัพท์และข้อความในพระบัญญัติ
ง. อนุปติวาว เป็นการบอกข้อยกเว้นพระอภิธรรม ซึ่งไม่ต้องอาบัติώνนั้น ๆ เช่น ไม่มีเจตนา เป็นบ้า กิฏฐิที่เป็นภัญญัติ เป็นต้น
จ. วินิตวต คือ ตัวอย่างเรื่องราวการกระทำของภิกษุในรูปแบบต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ว่ากันนั้น ๆ ต้องอาบัติหรือไม่ ถ้าเปรียบกับกฎหมายในปัจจุบันก็เป็นเหมือนคำพิพากษา ที่เป็นมาตรฐานในการนิยกัดดีใหม่ วินิตวัตถุนี้ในสาขาบทหมวดที่มีโทษหนัก คือ ปาราชิก ลังมาสเส อนียด
ในสุดวิภังค์ สิกขาบทแต่ละข้อจะถูกอธิบายขยายความแบ่งเป็น 5 ส่วนที่กล่าวไปแล้ว กล่าวคือ ต้นบัญญัติ, พระบัญญัติ, สิกขาบทวังค์ และภาวทัณฑ์, อนุปติวตวว, วินิตวัตถุดูตามลำดับ แต่ยังโต้ตาม บางสิกขาบทก็ไม่ครบทั้ง 5 ส่วน ในกรณีที่ไม่ได้เป็นสิกขาบทที่สำคัญ
2.2 ขันธกะ แบ่งเป็น “มหาวรรค (Mahāvagga)” ซึ่งมี 10 ขันธกะ และ “จุฬาวรรค (Cullavagga)” ซึ่งมี 12 ขันธกะ เนื้อหาลำลำการสมบก การลุ้งอุปสถ การจำพรรษา การบวชนา วิธีบริหารจิว กุสิน ยารักษาโรค