โครงสร้างของปฏิรูปการอาบัติในพระพุทธศาสนา สิกขาบทในพระปาฏิโมกข์เกิดขึ้นเมื่อใด หน้า 17
หน้าที่ 17 / 42

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับปฏิรูปวิธีการอาบัติในพระพุทธศาสนา ซึ่งแบ่งออกเป็น 8 หมวด โดยได้กล่าวถึงอาบัติทั้ง 4 ตัวหลัก ได้แก่ ปาเศษ, สังคาฯเสส, อนิติ และนิสินคัลยาจิตติย์ โดยระบุถึงข้อกำหนดและการลงโทษต่างๆ สำหรับพระสงฆ์ในกรณีที่กระทำผิดตามอาบัติเหล่านี้ เช่น ปาเศษมีโทษที่รุนแรงที่สุด สามารถเปรียบได้กับโทษประหารชีวิตในทางโลก ขณะที่อาบัติอื่นๆ มีขั้นตอนการแก้ไขและการฟื้นฟูที่ชัดเจน ผู้ที่ต้องการรู้วิธีการปฏิบัติตนในพระพุทธศาสนาสามารถเรียนรู้ได้จากเนื้อหาในเอกสารนี้.

หัวข้อประเด็น

-โครงสร้างอาบัติ
-ประเภทอาบัติ
-การลงโทษพระสงฆ์
-ปฏิรูปในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ปฏิวัติวิธีการกับสีกาขนาดเล็กน้อย 5.1 โครงสร้างของปฏิรูป เลิกขบวนอันเป็นมาในพระปฏิรูปนี้แบ่งออกตามประเภทอาบัติเป็น 8 หมวด ดังนี้ 5.1.1 ปาเศษ เป็นอาบัติหนักสุด ภิกษุได่ต้องอาบัติปราศจากขาดจากความเป็นพระทันที ไมว่าผู้อื่นจะล่วงรือไม่ก็ตาม และไม่สามารถขอ บวชใหม่ได้อีก มีด้วยกัน 4 ข้อ คือ เสพเมถุน ลักทรัพย์ มนุษย์ อวดอุตริมนุสธรรม เปรียบคล้ายกับโทษประหารชีวิตในทางโลก 5.1.2 สังคาฯเสส เป็นอาบัติหนักรองลงมาจากปาริชิ ภิกษุที่ต้องอาบิติ สังฆาทิสสะต้องไปอยู่ปราเป็นจำนวนวันเท่ากับวันที่ปิดควมผิดนั้น จากนั้นอย่ามั่นอีก 6 ราตรี แล้วจึงออกพ้นบวบโดยสงู 20 รูปนี้ไป มีหัวมด 13 ข้อ เช่น จงใจให้อนาจิกเคลื่อน ถูกต้องกายหญิง กล่าวว่ากักษ์อื่นด้วยอาบัติปาริชิไม่มีมูล เป็นต้น เปรียบคล้ายโทษอุกในทางโลก 5.1.3 อนิติ คำว่า อนิติ แปลว่า "ไม่แน่นอน" เป็นอาบัติที่เกี่ยวกับการอยู่ในที่ลับหรือลับตากับหญิง หากมุคคลที่ว่าเชื่อถือได้ โจทย์ด้วยอาบัติอะไร ก็ปรับด้วยอาบัตินั้น เช่น ปาริชิ สังคาฯเสส หรือปาจิตติ ตามแต่กรณี (บุคคลที่ว่าเชื่อถือได้ คือ พระสงฆ์องค์ตั้งแต่พระสงฆ์ชั้นในป) 5.1.4 นิสินคัลยาจิตติย์ เป็นอาบัติที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติต่อจิร อนุบาลมาตร เป็นต้น อย่างไม่ถูกต้อง การจะพ้นอาบัติ ต้องสะสมสิ่งของที่ปฏิบัติผิดก่อน แล้วปล่อยอาบัติ กับที่บริสุทธิ์จึงจะพ้นอาบัติได้ มีทั้งหมด 30 ข้อ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More