ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมหารา
วาทีมสาขาวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ปี 2562
บทนำ
คัมภีร์มิลินทปัญหาเป็นคัมภีร์ที่รวบรวมการถามและตอบปัญหา
สำคัญในพระพุทธศาสนาเอาไว้เป็นจำนวนมาก แต่ประเด็นที่หมายของ
คัมภีร์มิลินทปัญหายังคงเป็นประเด็นถกเถียงกันว่า เกิดขึ้นในยุคไหนและ
ผู้แต่งเป็นใคร นักวิชาการจำนวนมากต่างให้ความเห็นที่หลากหลายเกี่ยว
กับที่มาของคัมภีร์นี้ แนวคิดส่วนหนึ่งเสนอว่ามิลินทปัญหาได้รับอิทธิพล
จากงานเขียนในยุคกรุงโบราณสมัยเฮเลนิสต์ (Hellenistic Period)
นักวิชาการในกลุ่มนี้เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีได้แก่ ทรัน (Tarn W.W.)
ซึ่งได้เสนอแนวคิดอันโด่งดังที่เรียกว่า สมมติฐานของทรัน (Tarn’s
Hypothesis) ขึ้นโดยได้ตั้งข้อสมมติฐานว่ารูปแบบการเขียนของคัมภีร์
มิลินทปัญหาน่าจะได้รับอิทธิพลมาจากงานกริก (Greek Work)
ชื่อปัญหาของพระเจ้าเล็กๆนอตเดอร์ (the Alexander Questions)
โดยพูดในระยะเวลาต่อมาได้บรูกคัมภีร์ที่มีรูปแบบการเขียนเชิง
สนทนา (Dialogue) คล้ายกับคัมภีร์ดังกล่าว อันได้แก่ คัมภีร์ปัญหาของ
พระเจ้าปโตเมีย 2 (the Questions of Ptolemy II) และคัมภีร์กำเนิด
ปัญหาของพระเจ้ามิลินท (the Original Questions of Milinda)
โดยทรันเชื่อว่างานเขียนฉบับดังกล่าว คือ ฉบับเดียวกับคัมภีร์
มิลินทปัญหา ดังนี้… ทรันได้พยายามซี้ให้เห็นว่าคัมภีร์พระพุทธศานา
อันโดงดังที่อ้อมมลินทปัญหา สนิทฐานว่าเป็นฉบับเดียวกันกับคัมภีร์กิก
(the Original Questions of Milinda)…¹
อย่างไรก็ตาม เมื่อสืบค้นคัมภีร์พระพุทธศาสนาอ้อมกลับขึ้นไป
ผู้เขียนพบว่า ลักษณะการประพันธ์แบบถาม-ตอบ ที่มีลักษณะใกล้
เคียงกับมิลินทปัญหา มีปรากฏอยู่บ้างในพระสูตรต้นปฏิก เช่น