ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมาธาราวิสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ปี 2562
คำมภิธิอธิบายคำสอน: คำมภิธิมีต้นกำเนิดจากวัฒนธรรมอินเดียโบราณ ดังต่อไปนี้
แนวคิดที่สนับสนุนว่าคำมภิธิมีลินปัญหา
มีต้นกำเนิดมาจากวัฒนธรรมกรีก
ยารอสลาฟ (Yaroslav, V.) 8 กล่าวว่า “วิเบอร์ (Weber, A.) เป็นคนแรก
ที่สังเกตว่า ลักษณะของคำถามในคำมภิธิมีลักษณะการ
สนทนาที่มาจากวัฒนธรรมกรีกคล้ายบทสนทนาของเพลโต”
นักวิชาการที่มีแนวคิดสุดคล้องกับ วีเบอร์ (Weber) ได้แก่ เปสลาก
(Pesala) พระภิกษุที่สนใจศึกษาพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะด้านการ
ปฏิบัติสมาธิเสนอความคิดเห็นว่า "...ลักษณะกาจำเสนองของมภิทิมีปัญหา
ละมัยการสนทนาแบบเพลโต 9 เป็นอย่างมาก พระนาคเสนเล่นบท
โสคคีติสและทำให้พระอัจจิมินทีเลื่อนใสในพระพุทธศาสนาด้วยเหตุผล
ที่แน่นและความเปรียบที่เหมาะเจาะ...” 10
นอกจากนี้ยังมีนักวิชาการที่มีความเห็นสุดคล้องกับวีเบอร์อีก
เช่นกัน โดยดูด์คอค (Woodcock G.) ได้เสนอความเป็นไปได้เกี่ยวกับ
การยอมรับว่าเนื้อหาและรูปแบบของคำมภิธิมีลักษณะคล้าย
งานสนทนาของเพลโตดังนี้
...ถ้าเราอธิบายความเป็นไปได้ของพระนาคเสนว่า
เป็นภิกษุชาวกรีกในพุทธศาสนาไปแล้ว หากคำถามของกษัตริย์
มภิธิจะมีกลิ่นอายของเพลโตบ้าง ก็จะกลายเป็นสิ่งที่พอคิึบาย
8 Yaroslav (1993: 64)
9 สมบูติ จันทรงค์ (2555)
10 นวพร เรื่องสุด (2558: 33)