ข้อความต้นฉบับในหน้า
(Hastings, Ed. J) และ กอนดา (Gonda, J.) เห็นว่า ลักษณะของการสนทนาแบบนักปราชญ์คล้ายกับที่ปรากฏในคัมภีร์ลินทปัญหาเป็นที่รู้จักกันในอินเดียอยู่แล้วตั้งแต่คะพระเวทและพระพุทธศาสนายุคต้น29 พิธีกรรมรูปแบบหนึ่งของการแลกเปลี่ยนความรู้ด้านจักรวาลวิทยา คือ การจัดให้ผู้เข้าร่วมแข่งขันนั่งหน้าเข้าหากันเป็นวงกลม 2 วงซ้อนกันจากนั้นจะให้สนทนาแลกเปลี่ยน (การแข่งขันโต้วาทะ) ด้วยถากถามและตอบความรู้ในคัมภีร์พระเวทชื่อพระนโมทยา (Brahmodya)30 ยารอสลอว์ (Yaroslav)31 อ้างว่า รูปแบบของการแข่งขันโต้วาทะ โบราณแบบนี้จะจัดให้คู่แข่งพบกันที่ประชุมของชุมชนหรือเผ่า สถานที่นั่นเรียกว่า บริษัทหรือสถา นอกจากนี้ ยารอสลอว์ ยังจะนว่า รูปแบบของการแต่งคัมภีร์ลินทปัญหา เสาะความมีอยู่จริงของ การแข่งขันโต้วาทะที่โบราณ (Archaic Verbal Agon) ดังกว่า จากแนวคิด ข้างต้น ยารอสลอว์ อธิบายว่าชุดคำถามและคำตอบที่เรียกว่า บทสนทนา เป็นรูปแบบปกติที่ไปของโครงสร้างคัมภีร์ทำศาสนาในอินเดีย เช่น มหากาพย์รตกะ บทสนทนาระหว่างกฤษณะและอรชุน ในคัมภีร์ภควัทคีตาและอรรถาธิบายในคัมภีร์อุปนิษัท คำถามที่อาจจะเกิดขึ้นตามมาคือ เมื่อการแข่งขันโต้วาทะ มักจะใช้สถานที่สำคัญคือ สถา หรือที่ประชุม แล้วการเข้าไปโต้วาทะในปาสองต่อของพระเจ้ามิลินทและพระนาคเสนในเมนุกปัญหา ชัดแต่งกับรูปแบบการโต้วาทะโบราณชั้นต้นหรือไม่ ยารอสลอว์ เสนอว่า