ข้อความต้นฉบับในหน้า
คัมภีร์จัดเป็นปัญหา: ปรัชญาเรื่องกำเนิดและพัฒนาการ
Midobaphah: the Mystery of its origin and development
209
ประเด็นเรื่องสถานที่ประสูติของพระเจ้ามีมินที่เป็นข้อขัดแย้งระหว่างฉบับแปลภาษาจีน (ฉบับนาฏเสนภิโมกษัต-ร) และภาษาบาลี (ต้นฉบับที่ครอบทั้ง 7 กันติ) นั้นผู้เขียนพบว่าแนวโน้มที่สถานที่ประสูติของพระเจ้ามินทระอยู่ในเขตที่ของเมืองปัญจหรือเมืองเบกรรมในปัจจุบันมีความเป็นไปได้ค่อนข้างมากเนื่องจากข้อมูลที่เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์จำนวนมากหลงเหลืออยู่ ส่วนประเด็นเรื่องการเกิดขึ้นก่อนหลังของฉบับแปลภาษาจีนและภาษาบาลีที่เป็นข้อขัดแย้งนั้นเมื่อสืบค้นฉบับต้นกำเนิดคัมภีร์ย้อนกลับไปตามแนวคิดของมอิและนานะ พบว่าหลังจากมีการสืบต่อฉบับที่เป็นภาษาปรากฏหรือสนุกกตฉบับแล้ว คัมภีร์ของมินทระปัญญานำเข้าไปสู่ต่างๆ อย่างน้อย 3 สาย ได้แก่ สายที่เชื่อว่าเป็นพระพุทธศาสนานิกายสงวาสติวาทพระพุทธศาสนาในจีน และพระพุทธศาสนาเถรวาท เมื่อพิจารณาจากการแยกสายของคัมภีร์จะเห็นได้ว่า ฉบับที่มาเดิมคือฉบับภาษาดีกล่าวคือฉบับภาษาหลังจากเพิ่มเติมที่นำเข้าไปแล้ว เกิดขึ้นก่อนปีศรีศักราช 100 แตในขณะนั้นฉบับแปลภาษาจีน (นาฏเสน-กิชุดตร) เกิดขึ้นก่อนปีศรีศักราช 150 ดังที่ได้อธิบายไว้ข้างต้น ส่วนประเด็นเรื่องตัวเลข 200 โยชนในภาษาบาลีและ 2,000 โยชนในภาษาจีนสนิทนะซึ่งอาจจะมีการดัดแปลงเรื่องตัวเลขในฉบับแปลภาษา จีนึ่งเกิดขึ้นหลังฉบับภาษาบาลีซึ่งอาจเป็นเพราะหน่วยนับของจีนมีหน่วยระยะทางเป็นลีส หรือ สิ่ 46 ไม่ได้เป็นโยชนเหมือนในอินเดีย การจัดมาตราส่วนเมื่อแปลเป็นภาษาจีนอาจจะมีความคลาดเคลื่อนได...
46 หลี่หรือภาษาจีนแต่จ้อว่า "ลี" เป็นหน่วยวัดความของจีน 1ลี = 150จ่างแต่ความยาวของหลี่มีจุดที่ลดลงเคลื่อนระหว่างดติับปัจจุบัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1929 เป็นต้นมา รัฐบาลจีนได้กำหนดให้ 1ลี = 500 เมตร (ชูปุ่น: 2008)