ศึกษาประวัติศาสตร์และวรรณกรรมอินโด-กรีก คัมภีร์มิลินทปัญหา: ปริศนาเรื่องกำเนิดและพัฒนาการ หน้า 17
หน้าที่ 17 / 42

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับราชวงศ์ Euthydemids ในยุคอินโด-กรีก ตั้งแต่การประสูติของกษัตริย์จนถึงสถานที่ที่เชื่อว่าเป็นเมืองอเล็กซานเดรีย มันระบุข้อขัดแย้งในข้อมูลระหว่างคัมภีร์บาลีกับคัมภีร์ภาษาจีน รวมถึงที่ตั้งของเมืองต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกษัตริย์ในประวัติศาสตร์เมื่อตรวจสอบแล้วพบว่ามีความสำคัญต่อการศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและการปกครองในภูมิภาคนี้

หัวข้อประเด็น

- ประวัติราชวงศ์ Euthydemids
- สถานที่ประสูติของกษัตริย์
- ความสำคัญของเมืองอเล็กซานเดรีย
- ข้อขัดแย้งในการสำรวจประวัติศาสตร์
- การศึกษาทางพระพุทธศาสนาและวรรณกรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมธารา วาสนาวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ปี 2562 ประสูติด้วยฐานะของสามัญชนในหมู่บ้าน คำว่า ประสูติในหมู่บ้าน ทรินสนิฐานว่ามา หมายความว่า บิดาเป็นเจ้าของที่ดินจำนวนมาก และมีขนาดใหญ่เกือบจะกลายเป็นหมู่บ้าน นอกจากนี้ กษัตริพระองค์นี้ สิ้นพระชนม์รว 150-145 ก่อนคริสต์ศักราชและไม่ใช่กษัตริเลือด ผสมกิร (Euthydemid)อย่างที่สนิษฐานกันในคัมภีร์มิลินทปัญหา ฉบับบาอีติอกด้วย ข้อขัดแย้งเรื่องสถานที่ประสูติระหว่างคัมภีร์ฉบับบาลีและภาษาจีน กลายเป็นหลักฐานสำคัญที่สนับสนุนแนวคิดของทาริน โดยหลักฐานที่พบในนาคเสนภิษฎสูตรฉบับภาษาจีนได้กล่าวถึงสถานที่ประสูติของกษัตริว่า อยู่ห่างจากเมืองสคละ 2,000 โยชน ซึ่งน่าจะหมายถึงเมืองอเล็กซานเดรียแห่งอียิปต์(Alexandria of Egypt) และได้เป็นกษัตริ์ปกครองเมืองเล็กๆ แห่งหนึ่งใกล้ชายฝั่งทะเล ในขณะที่ในคัมภีร์ภาษาบาลีกล่าวถึงสถานที่ประสูติของกษัตริว่าจ่เป็นอยู่ห่างจากนครศากาดค-22 200 โยชนที่เกาะอัสมันทะ (Alasanda) หรือเชื่อว่่าเป็นเมืองอเล็กซานเดรีแห่งกกาซัส(Alexandria of the caucasus)ในทางประวัติศาสตร์ 19 ยูไดเดมิส (Euthydemids) เป็นชื่อของราชวงศ์ที่เกิดขึ้นระหว่างคริสต์เชื่อสายอินโด-กรีก (Indo-Greek)และเกรโก แบคเทรียน(Greco-Bactrian) มีมาชื่อริซี่บชื่อสายประมาณ 25 พระองค์ ตั้งแต่ 230-10 ปีก่อนคริสต์- ศกาฉาก (Antoine, S. 2011) 20 Guang (2007: 183) 21 เมืองเล็กชานเดรียเป็นเมืองท่าทำสำคัญของทะเลม ดิเตอร์เนียนทางเหนือ ของประเทศอิยิปต์ตั้งขึ้นเมื่อ 331 ปี前คริสตศักราชโดยพระเจ้า อเล็กซานเดอรร์มาทราซ (Joshua J. Mark. 2018) 22 ในฉบับภาษาบาลี เมืองสาคาละ (Sagala) ในปัจจุบัน หมายถึง เมืองไดลลคอต (Sialkot) ในประเทศปากีสถาน (Upasak, C.S. 1990: 38) 23 ปัจจุบัน คือ เมืองกันทารัช (Kandahar) ในอัฟกานิสถานใต้ (Pachow, W. 2000: 5)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More