การสนทนาเรื่องพระพุทธศาสนาในคัมภีร์มิลินทปัญญา คัมภีร์มิลินทปัญหา: ปริศนาเรื่องกำเนิดและพัฒนาการ หน้า 25
หน้าที่ 25 / 42

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เกี่ยวกับการสนทนาระหว่างพระเจ้ามิลินทและพระนาคเสน หลักการและเนื้อหาของคัมภีร์มิลินทปัญญา พิจารณาความแตกต่างกับคัมภีร์กว่าวติ การค้นคว้าและเปรียบเทียบเนื้อหาที่พบจากฉบับอักษรต่างๆ เช่น อักษรโรมัน, ไทย, พม่า, และขอม รวมถึงการพัฒนาทางประวัติศาสตร์และความหมายที่ลึกซึ้งในพระพุทธศาสนา เนื้อหาส่งเสริมความเข้าใจในสนามวิชาการและการวิจัยทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

หัวข้อประเด็น

-การสนทนาในพระพุทธศาสนา
-คัมภีร์มิลินทปัญญา
-พระเจ้ามิลินทและพระนาคเสน
-การเปรียบเทียบคัมภีร์
-การเปลี่ยนแปลงเนื้อหาคัมภีร์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรรมธรรม วาสนาจวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ปี 2562 ...การสนทนาครั้งที่ 3 แกคือ พระเจ้ามิลินทเสด็จมาพบ เจ้าบ้านคือ พระนาคเสนเพื่อที่จะถามปัญหาอีกครั้ง จากนั้นทั้งสอง ไปยังป่าแห่งหนึ่งโดยลำพัง การเปลี่ยนสถานที่เช่นนี้เนื่องจาก มีความเป็นไปได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองได้เปลี่ยนแปลง ไปแล้ว (พระเจ้ามิลินทกลายมาเป็นศิษย์ของพระนาคเสน) และ เป็นไปได้ว่าทั้งสองไปสนทนาที่ป่าเพราะว่า ธรรมชาติของปัญหา (ปัญญาอุตโตฎ) เป็นที่เข้าใจกันได้ในวงจำกัด... ในขณะเดียวกัน เมื่อเทียบกับมีปัญหากับคัมภีร์กว่าวติ แล้วจะเห็นว่าข้อความในคัมภีร์มีลักษณะหลายตอนคล้ายคลึงกับ เนื้อจากคัมภีร์กว่าวติ เช่น ปัญหาเรื่องทิพยจักษุเป็นจริงหรือไม่ เรื่องคุฬสรรคที่บรรลุจะแสดงให้ดูอย่างไร เป็นต้น ตรงกับ ความในกว่าวติทุกอย่าง และยังพบว่าเนื้อความในกว่าวติมีคำ อธิบายละเอียดผิดจากการกว่าวติแบบอื่นด้วย^33 คัมภีร์มิลินทปัญญา^34 ฉบับภาษาไทยนี้ เท่าที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน มีบัณฑิศิลาหล อักษรโรมัน อักษรไทย อักษรพม่าและอักษรขอม ฉบับหลังว่า เนื้อหาถูกนำมาจากฉบับอักษรสิงหลตั้งแต่ปรากฏว่า แต่ละฉบับมีวิธีการจัดระเบียบเนื้อเรื่องไม่เหมือนกัน และมีข้อควม บางตอนแตกต่างกันออกไปบาง เช่น ฉบับอักษรโรมันต่างกับฉบับ อักษรไทย ทั้งการจัดระเบียบและข้อความบางตอน เป็นต้น การที่แตกต่าง กันนั้น อาจถูกเปลี่ยนโดยผู้คัดลอกทางยุโรปหรือผู้คัดลอกทางม่า ศรีลังกา ไทย ก็ได้ หรือไม่ก็เปลี่ยนแปลงตั้งแต่ครั้งที่มีการแปลจาก สันสกฤตมาเป็นบาลี --- 33 Müller (1965: xxvi) อ้างใน มหามกุฏราชวิทยาลัย (2547: 528) 34 มหามกุฏราชวิทยาลัย (2547: 538)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More