Greco-Buddhism: การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างเฮลเลนิสต์และพุทธศาสนา คัมภีร์มิลินทปัญหา: ปริศนาเรื่องกำเนิดและพัฒนาการ หน้า 33
หน้าที่ 33 / 42

สรุปเนื้อหา

บทความนี้วิเคราะห์การเกิดขึ้นของ Greco-Buddhism ซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมเฮลเลนสต์และพุทธศาสนา โดยชี้ให้เห็นถึงบทบาทของการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการระหว่างสองวัฒนธรรมที่มีการสนทนาในเชิงลึกและการแต่งวรรณกรรมที่ปกป้องศาสนา อีกทั้งยังเน้นว่าการประพันธ์วรรณกรรมมีความสำคัญในด้านการสื่อสารและการป้องกันความเข้าใจผิดเกี่ยวกับพุทธศาสนา โดยศึกษาถึงการนำเสนอในเขตคีเดีย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมที่ยาวนานและซับซ้อนในประวัติศาสตร์.

หัวข้อประเด็น

- Greco-Buddhism
- วัฒนธรรมเฮลเลนิสต์
- พุทธศาสนา
- การแลกเปลี่ยนความรู้
- วรรณกรรมทางศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมาธา วาสนาวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ปี 2562 เมื่อปรากฏคำศัพท์เช่น Greco-Buddhism44 ขึ้น ซึ่งเป็นที่ทราบกันว่าเป็นคำศัพท์ที่กล่าวถึงวัฒนธรรมที่ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมแบบเฮลเลนสต์และพุทธศาสนา จากนั้นรูปแบบการสนทนาดังกล่าวได้กลายมาเป็นวัฒนธรรมการแต่งวรรณกรรมเพื่อปกป้องศาสนาแบบหนึ่งของชาวอินเดีย สอดคล้องกับแนวคิดของ ธ ณ แก้วโอภาส ที่ว่า ภายหลังที่พระเจ้าเลิศชานเดอร์สิ้นพระชนม์แล้วในสมัยราชวงศ์เมารยะ ซิลลัดสินคาเทอร์ (Selucus Nicator) ได้ส่ง มกัธิสนะ (Megasthenes) มาเป็นเอกอัครราชทูตประจำสำนักในอินเดีย แนวคิดดังกล่าวสนับสนุนทฤษฎีที่ว่ามีการแลกเปลี่ยนแนวความคิดทางวิชาการระหว่างทั้งสองประเทศ45 หากมีการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการระหว่างสองสายวัฒนธรรมดังข้อข้างต้น ความรู้ในการประพันธ์วรรณกรรมจัดเป็นความรู้ทางวิชาการแขนงหนึ่ง ดังนั้นจึงเป็นไปได้ว่ามีร่องปัญหาซึ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนาเก็บปรับปรุง (apologetic text) อาจได้รับผลกระทบด้านการประพันมาจากวัฒนธรรมรึก เนื่องจากเนื้อหาในส่วนใหญ่เน้นไปที่การป้องกันความเข้าใจผิดในพระพุทธศาสนา ส่วนโครงสร้างและรูปแบบอาจวิธีการเดียวกับการราญาคัมภีร์ศาสนาในสายวัฒนธรรมอินเดีย ส่วนสถานที่ในการรรจานั้นน่าจะเกิดขึ้นในเขตประเทศคีเดียเนื่องจากมีเหตุผลสนับสนุนจำนวนมากดังได้ำนามอภิปรายไว้แล้วข้างต้น 44 Greco-Buddhism บางครั้งสะกดด้วย Graeco -Buddhism เป็นวัฒนธรรมที่ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมแบบเฮลเลนิดส์และพุทธศาสนา พัฒนาขึ้นประมาณ 800 ปีในแถบเอเชียกลาง ในเขตพื้นที่ปัจจุบันคือประเทศอาฟกานิสถานและปากีสถาน ระหว่าง 400 ปี ก่อนคริสต์ศักราชถึงคริสต์ศักราช 500 (Schools Wikipedia Selection, 2007) 45 ธณ แก้วโอภาส (ม.ป.ป.: ฯลฯ)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More