ความเป็นไปได้ของหมู่บ้านกัลสิในประวัติศาสตร์ คัมภีร์มิลินทปัญหา: ปริศนาเรื่องกำเนิดและพัฒนาการ หน้า 18
หน้าที่ 18 / 42

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความคิดเห็นที่มีต่อหมู่บ้านกัลสิ (Kalasi) และบทบาททางประวัติศาสตร์ในแง่ของการปกครองโดยราชวงศ์กรีก ในขณะที่ยังนำเสนอหลักฐานจากภิกษุปสาลาเกี่ยวกับเหรียญราชาของกษัตริย์ที่พบในอินเดียตอนเหนือและความสัมพันธ์กับเมืองกัลสิและนครอสันทะในประวัติศาสตร์ ว่ากัลสิอาจจะมีความเชื่อมโยงกับเมืองปิยะ (Kapisa) หรือเมืองบรา และความเป็นไปได้ในทางประวัติศาสตร์นั้นยังคงถกเถียงอยู่ ในบริบทของความสำคัญของชุมชนนี้ต่อพุทธศาสนาและการเมืองในยุคนั้น

หัวข้อประเด็น

-ความเป็นไปได้ของหมู่บ้านกัลสิ
-ประวัติศาสตร์เมืองอเล็กซานเดรีย
-แนวคิดของภิกษุปสาลา
-เหรียญราชาจากกษัตริย์ในอินเดียตอนเหนือ
-บทบาทของราชวงศ์กรีกในอินเดีย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไม่พบว่ามีหมู่บ้านกัลสิ (Kalasi) อยู่เลย ทารนด์ก่อนข้างจะมีความคิดเห็นในเมื่อนั้นไปทางฉบับแปลภาษาจีนมากกว่าบทแปลภาษาเบรียน เนื่องจากทารนัสนิพฐานว่า อาจจะเป็นไปได้ว่าประมาณ 210-200 ปี ก่อนคริสต์ศักราช เป็นจุดที่เมืองอเล็กซานเดรียแห่งอาเซียนอิบภูทอถูกปกครองโดยราชวงศ์กรีก ดังนั้นความเป็นไปได้เกี่ยวกับสมมติฐานของทารนัสดังนั้นความเป็นไปได้เกี่ยวกับสมมติฐานของทารนัสดังนั้นความเป็นไปได้เกี่ยวกับสมมติฐานของทารนัสดังนั้นความเป็นไปได้เกี่ยวกับสมมติฐานของทารนัสดังนั้น แต่ในทางตรงกันข้ามหลักฐานสำคัญที่แตกต่างกับแนวคิดของทารนร์ข้างต้นคือข้อเสนอของภิกษุปสาลา ที่ว่า ...มีการค้นพบเหรียญราชาของกษัตริย์พระองค์นี้ทั่วไปทางอินเดียตอนเหนือในบริเวณค่อนข้างกว้างขวาง คือ ทางทิศตะวันตกไปถึงทิศตะวันออกไปปกติถึงมฎร (ในอินเดียดินกบ เนปาล) ทางตะวันออกไปปกติถึงมฎร (ในอินเดียติดกับเนปาล) และเหนือสุดไปถึงศรีมาร (แคชเมียร์ในอินเดียตอนเหนือ) ภาพพุทธอัญเชิญเหรียญพระเจ้ารอบเหรียญ อุปสาข (Upasak, C.S.) ให้ความเห็นเกี่ยวกับเมืองกัลสิ ที่ถูกอ้างว่าไม่มีอยู่จริงทางประวัติศาสตร์ไว้ในหนังสือ History of Buddhism in Afghanistan ว่าในฉบับแปลภาษาบาสิยะว่า พระเจ้ามิลินทประสูติในหมู่บ้านกัลสิ (Kalasi) ในนครอสันทะ (Alasanda) นครอสันทะถูกอ้างว่าเป็นเมืองอเล็กซานเดรียแห่งกากัสซัส (Alexandria in Caucasus) และหมู่บ้านกัสถูกระบุว่า น่าจะเป็นเมืองปิยะ (Kapisa) หรือเมืองบรา...
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More