บทบาทของกษัตริย์เมนันเดอร์ในการเผยแผ่พุทธศาสนา คัมภีร์มิลินทปัญหา: ปริศนาเรื่องกำเนิดและพัฒนาการ หน้า 20
หน้าที่ 20 / 42

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจบทบาทของกษัตริย์เมนันเดอร์ในการสนับสนุนพุทธศาสนา โดยเฉพาะในเมืองกิมะและเบกราม ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่มีอิทธิพลในภูมิภาค การสร้างสถูปและวิหารของพระองค์มีความสำคัญต่อการเผยแผ่พุทธศาสนาไปยังอาณาจักรใกล้เคียง นักวิชาการได้ตั้งข้อสังเกตว่าวิหารและสถูปที่ถูกขุดค้นพบสามารถมีความสัมพันธ์กับกษัตริย์เมนันเดอร์ได้ และข้อมูลจากคัมภีร์มหาวงศะ (Mahāvamsa) ยังสนับสนุนว่ากิมะเคยเป็นศูนย์กลางสำคัญของพุทธศาสนาในช่วงเวลานั้น

หัวข้อประเด็น

-บทบาทของกษัตริย์เมนันเดอร์
-การเผยแผ่พุทธศาสนา
-เมืองกิมะ
-เมืองเบกราม
-ศูนย์กลางทางศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพระพุทธเจ้าและพุทธศาสนานอกจากนี่ยังปรากฏชื่อ “Dharmikas” (Dhārmikasya) ด้วยอักษรไวยากรณ์ (Kharosti) ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้สำหรับชาวพุทธเท่านั้น อุปาสก ระบุว่า รู้กิจกรรมทางศาสนาของขัตติยะเมนันเดอร์ ค่อนข้างน้อย แต่สิ่งนีฯฐฐานว่าพระองค์จะสร้าง วิหาร เลดี้ และสถูปในอาณาจักรของพระองค์เนื่องจาก อุปาสกเชื่อว่าเมืองกิมะเป็นศูนย์กลางของพุทธศาสนาเกรตรวมทั้งยังดูเหมือนกษัตริย์เมนันเดอร์อาจนำพระพุทธศาสนาไปเผยแผ่ที่ดินแดนประสูติ ฉะนั้นสถูปและวิหาร ย่อมต้องถูกสร้างโดยพระองค์เมื่อเมืองกิมะ ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ว่า สถูปและวิหารแห่งที่ถูกขุดค้นพบอาจเป็นผลงานของกษัตริย์เมนันเดอร์ก็ได้ และนักวิชาการหลายท่านยังยอมรับก่อนที่พระองค์จะเข้าปกครองในเขตต์ เมืองเบกราม เคยเป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาในอาณาจักร และได้เผยแผ่พุทธศาสนาไปทางทิศตะวันตกจนถึงเขเชกลางในระหว่างที่กษัตริย์เชื่อสายเกรค-บัลเทรียน (Grace-Bactrian) คงราง ๆ ในอัฟกานิสถาน ดังนั้นเมืองเบกรามน่าจะมีบทบาทสำคัญมากในการเผยแผ่พุทธศาสนาในช่วงที่กษัตริย์เมนันเดอร์ปกครอง ข้อมูลเพิ่มเติมจาก คัมภีร์มหาวงศะ (Mahāvamsa) ของศรีลังกา สนับสนุนข้อเท็จจริงว่า ระหว่างที่กษัตริย์เมนันเดอร์ครองราชย์อยู่หรือหลังจากนั้น เมืองกิมะเป็นศูนย์กลางของพุทธศาสนาเกรตรวมทั้งยังเป็นศูนย์กลางของพุทธศาสนาในอาณาจักรในเมืองนี้ เมืองกิมะจะดำรงไว้ซึ่งการติดต่อทางศาสนากับประเทศเพื่อนบ้านต่าง ๆ ผ่านมาทางพระกฤษเหล่านี้ดังกล่าวได้ว่าเมืองกิมะเคยเป็นศูนย์กลางสำคัญทางศาสนาก่อน ยกตัวอย่าง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More