ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมหารา
วาสนาวิชาภาษาเทพพฤกษา บทที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ปี 2562
ชุดดังกล่าวอ้างเป็นต้นแบบให้กับชุดต้นกำเนิดปัญหาของพระเจ้ามิลินท์ (The Original Question of Milinda) อีกด้วย ลักษณะของวรรณกรรมทั้งสองเรื่องหลังจะถูกยกย่องว่ามีอยู่จริงทางประวัติศาสตร์ว่าได้ทรงตั้งคำถามเชิงปรัชญาอย่างไรต่อผู้แต่งนั้น เช่น วรรณกรรมเรื่องชุดปัญหาของพระเจ้าตเสมที่ 2 สันนิฐานว่า มีขึ้นราว 300 ปีก่อนคริสต์ศกาลาราช เป็นวรรณกรรมที่กล่าวถึงพระเจ้าตเสมที่ 2 ซึ่งเป็นกษัตริย์ที่อยู่จริงทางประวัติศาสตร์ได้ทรงตั้งคำถามเชิงปรัชญา (เนื้อหาปัญหาเป็นเรื่องของรัฐศาสตร์) กับกลุ่มนักปราชญ์ชาวอินเดียที่เชื่อว่า ผู้แต่งสมมติขึ้นมามาเอง ส่วนชุดต้นกำเนิดปัญหาของพระเจ้ามิลินท์เป็นการถาม-ตอบระหว่างกษัตริย์มิลินท์เดอร์กับนักบวชชาวพุทธที่เชื่อว่าผู้แต่งสมมติขึ้นมาว่า พระนาคเสน ทารินตั้งสมมติฐานว่า ผู้แต่งที่เป็นชาวพุทธคนนี้ได้แต่งคัรบฏ 3 กัณฑ์แรกขึ้นไม่เกิน 100 ปี ก่อนคริสต์ศกาซึ่งท่านนี้เชื่อว่าเป็นยุคที่ขับมาจิรกเป็นภาษาพูดทั่วไปในอินเดียและชาวอินเดียรู้ว่าวรรณกรรมก็เป็นอย่างดี14
เหตุผลของท่านสำหรับอ้างว่าต้นฉบับคัรบฏปัญหาถือกำเนิดมาจากวัฒนธรรมกรีก ได้แก้ การปลุกคำศัพท์โยนกะ (Yonaka) ที่ปรากฏในคัรบฏวรรณกรรมกรีก เป็นศัพท์ภาษากรีกที่ใช้นับแพร่หลายในยุคที่วัฒนธรรมเฮลเลนสต์รุ่งเรือง (Hellenistic Period)15
(เชิงอรรถต่อจากหน้าที่แล้ว)
นักปราชญ์ชาวอิ้วนจำนวน 72 คนมาเข้าเผ่าเพื่อทรงสอบถามปัญหาต่างๆ เช่น เรื่องศาสนาและราชประเพณี (P. Wendland. 1900: 280 อ้างใน Tarn, W. W. 1938: 424)
14 Tarn (1938: 435)
15 ยูเฮลนิสต์ (Hellenistic Period) (323-31 ปี ก่อนคริสต์ศักราช)
(อ่านเชิงอรรถในหน้าต่อไป)