ข้อความต้นฉบับในหน้า
กัณฑ์ที่ 4 เมนทากปัญหา ตอนว่าด้วยปัญหาสองเมื่อเมนทากปัญหาเป็นการตั้งปัญหาแบบที่เรียกว่ "ปัญหาอถโถโกฏิ" หรือปัญหาสองเมื่อด้น หมายถึงการถามตอบปัญหาที่ดูประหนึ่งว่ามีความขัดแย้งกัน เช่น ความขัดแย้งของพุทธพจนและคำสอนเป็นต้น ในคัมภีร์ มิลินทปัณณชะได้เปรียบเทียบปัญหาสองเมื่อว่า เป็นปรินายสองเมื่อดูเขาแกะ เมนทากปัญหาได้แก่นการวิเคราะห์ความหมายและเหตุการณ์ที่ดูเหมือนขัดแย้งกันเองในพระไตรปิฎก เช่น ปัญหาเรื่องพระพุทธเจ้าตรัสสอนไม่สัมมาเวา ไม่พูดปด ไม่พูดหยาบ แต่เหตุไฉจึงเรียกคนบางคนว่า โฆษณบรรุญ (เจ้าคนโง่) ซึ่งเป็นคำไม่สุขภาพ เป็นต้น ลักษณะของคำถามและคำตอบข้างซับซ้อนและเต็มไปด้วยอุปมาเพื่อประกอบการอธิบายโดยเฉพาะการให้ความหมายเชิงนามธรรม
กัณฑ์ที่ 5 อนุวนันปัญหา ตอนว่าด้วยปัญหาที่พึงทราบโดยอนุวนันเป็นปัญหาที่พระเจิมลินินัมคิณแม่นี่พระนาคเสนให้อธิบายองค์แห่งภิษุที่มีพร้อมในตนแล้วจะทำให้แจ้งพระนิพพานได้ เพื่อปฏิบัติ เพื่อความเป็นพระอรหันต์ เป็นวิธีการที่จะเข้าถึงเป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา การพัฒนาตัวเองให้สุดพ้นจากกิเลส บรรพิจิตและคตสุทธิ เมื่อปฏิบดีดี ปฏิบัติชอบ สามารถเป็นพระอริยะบุคคล บรรลุมรรคผลได้เหมือนกับพระอริยะบุคคล การบวชจึ่งเป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่จะพัฒนาตนให้เป็นพระอริยะบุคคลได้รวดเร็วและมั่นคง เพราะต้องอาศัยจิตใจที่แน่วแน่ จึงสามารถนำตนให้พ้นความทุกข์และบำเพ็ญประโยชน์แก่คนหมู่มากได้