ประวัติและที่มาของคัมภีร์มิลินทปัญหา คัมภีร์มิลินทปัญหา: ปริศนาเรื่องกำเนิดและพัฒนาการ หน้า 12
หน้าที่ 12 / 42

สรุปเนื้อหา

คัมภีร์มิลินทปัญหายังคงเป็นหัวข้อที่มีการถกเถียงในวงการวิชาการ ทั้งจากนักวิชาการตะวันตกและตะวันออก โดยมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับที่มาของคัมภีร์ที่แตกต่างกัน นักวิชาการบางคนเชื่อว่าต้นฉบับของมิลินทปัญหามาจากวัฒนธรรมกรีก ขณะที่อีกกลุ่มเชื่อว่ามีรากฐานมาจากธรรมกี คัมภีร์นี้มีการแปลเป็นภาษาจีนและภาษาบาลีจากต้นฉบับที่สูญหายไป และการศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดต่างๆ ของคัมภีร์นี้ยังคงดำเนินต่อไป

หัวข้อประเด็น

-ประวัติศาสตร์มิลินทปัญหา
-การวิเคราะห์ทางวิชาการ
-รากฐานทางภาษา
-ความเชื่อมั่นด้านวรรณกรรม
-ข้อถกเถียงทางวัฒนธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระไตรภูฏในหมวดจูฬากยมาประวัติและที่มาของคัมภีร์มิลินทปัญหาหายังเป็นข้อกังวลในหมู่ นักวิชาการทั้งชาวตะวันตกและตะวันออก โดยฝ่ายตะวันตก ได้แก่ ริสเดดิส์ (Rhys Davids, T.W.), ฮอนเนอร์ (Horner, I.B.), ดัตต์ (Dutt, N.), สกิลลิง (Skilling, P.), ทาร์น (Tarn, W. W.) และชาวตะวันออก ได้แก่ มิอูโนะ (Mizuno K.), กวง ชิง (Guang X.), โมริ (Mori, S.) และนานิวะ (Naniwa, S.) เป็นต้น จากการศึกษานจิตเกี่ยวกับกำเนิดและพัฒนาการ ของคัมภีร์มิลินทปัญหาจากนิราษฎรเชื่อกว่าต้นฉบับ คัมภีร์มิลินทปัญหาายอ สืบไป นักวิชาการส่วนหนึ่งเชื่อว่าต้นฉบับ มิลินทปัญหา น่าจะจงจากภาษาที่เป็นของธรรมกีโบฐาน ที่ เริ่มแพร่หลายในสังคมอินเดียยุคต้น ตั้งแต่มีการค้นพบการจารึกด้วยภาษากรีกในเสาหินของพระเจ้าอโศกลฯ บางส่วนเชื่อว่าต้นฉบับมิลินทปัญหา น่าจะจงจากภาษาปรากฎหรือสันสกฤต ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในการ สื่อสารอย่างแพร่หลายในดินแดนแถบตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย คัมภีร์มิลินทปัญหาที่เป็นที่รู้จักกันในปัจจุบัน เป็นฉบับที่แปลมา จากต้นฉบับที่หายไป ในที่ค้นพบมีลงเหลืออยู่ 2 ภาษาคือ ฉบับแปล ภาษาจีนและภาษาบาลี ดังนั้นเมื่อศึกษาแนวคิดต่างๆ เกี่ยวกับกำเนิดของ คัมภีร์มิลินทปัญหา นักวิชาการส่วนมากจึงมุ่งศึกษานี้จากฉบับแปล ทั้งสอง แต่โดยปกติแล้ว ที่มาของคัมภีร์มิลินทปัญหายังคงเป็นปริศนา นักวิชาการต่างให้ความเห็นหลายแตกต่างกันออกไป โดยในเบื้องต้นผู้เขียนได้จัดแบ่งแนวคิดที่สนับสนุนที่มาของคัมภีร์ มิลินทปัญหาออกเป็น 2 แนวคิดใหญ่ คือ แนวคิดที่สนับสนุนว่าคัมภีร์ มิลินทปัญหามีต้นกำเนิดมาจากวัฒนธรรมกรีก และแนวคิดที่สนับสนุนว่าคัมภีร์ มิลินทปัญหามีต้นกำเนิดจากธรรมกี และแนวคิดที่สนับสนุ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More