คำศัพท์และวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์พระเจ้ามิลินท คัมภีร์มิลินทปัญหา: ปริศนาเรื่องกำเนิดและพัฒนาการ หน้า 16
หน้าที่ 16 / 42

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจคำศัพท์ 'โยนก' และความสำคัญในบริบทของพระเจ้ามิลินทและการเติบโตของวัฒนธรรมในภูมิภาคยุโรปและเอเชีย โดยเฉพาะในประวัติศาสตร์เกี่ยวกับกษัตริย์เม่นเดอร์ที่ 1 การสำรวจนี้ชี้ให้เห็นถึงการเลือกใช้คำศัพท์ในภาษาบาลีที่สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมและการพัฒนาสังคมในอดีต นอกจากนี้ยังมีการอภิปรายเกี่ยวกับการที่คำศัพท์นี้อาจจะพบได้ในฉบับแปลภาษาจีนและสันสกฤต

หัวข้อประเด็น

-วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์
-คำศัพท์โยนก
-พระเจ้ามิลินท
-การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
-มีมลินทปัญหา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

แต่ในขณะเดียวกันคำพัพดังกว่ากล่าวสรุปรวมในดัชนีมีมลินทปัญหา ฉบับภาษาบาลี และหมายถึง ชาวกรีก อีกด้วย ถามว่าทำไมผู้จามิลินทปัญหาในคำกัดที่ 1 ถึงเลือกใช้คำศัพท์โยนก ทรงให้เหตุผลว่า ถาหากฉบับภาษาบาลีถูกดัดแปลงมาจากต้นฉบับภาษาสันสกฤตหรือปรากฏฤ (Northern Prakrit) แล้วทำไมคำศัพท์ “โยนก” หรือ “โยนะ” ไม่ถูกนำมาใช้ในภาษาสันสกฤตและปรากฤทั่วไป ดังนั้นถ้าคำศัพท์ “โยนก” ที่หมายถึงชาวกรีกถูกนำมาใช้ และคำศัพท์นี้ถูกคงไว้ในฉบับแปลภาษาบาลี และแม้แต่ในฉบับภาษาบาลีภัณฑ์ที่ 2 คำพ้องก็ยังถูกแทนที่ด้วยคำอธิบายความหมายของคำศัพท์คล้ายกับที่พบในฉบับแปลภาษาจีน ดังนั้นอาจพิจารณาได้ว่า คำศัพท์นี้เป็นคำที่ค่อนข้างยากในสังคมอินเดียและจีน เหตุผลประกอบมาทำเพื่อสนับสนุนสมมติฐานข้างต้นคือ ทรัน เชื่อว่าจากประวัติพระเจ้ามิลินทในฉบับภาษาบาลีที่กล่าวว่า พระเจ้ามิลินทประสูติในหมู่บ้านเล็กๆ ชื่อ กลอด (Kalasi) ไม่ไกลจากเกาะอัสนทะ (Alasanda) นั่นเป็นไปได้ว่า กษัตริย์เม่นเดอร์เป็นเพียงสามัญชนที่ต่อมาภายหลังได้เป็นกษัตริย์สดคล่องกับประวัติของกษัตริย์เม่นเดอร์ที่ 1 (King Menander I) ซึ่งเป็นบุคคลที่มีตัวตนจริงทางประวัติศาสตร์ โดยพระองค์เป็นชาวกรีกจากเมืองปาโรปามิเซด (Paropamisadae) (เชิงอรรถต่อจากหน้าที่แล้ว) เป็นยูฑ์ที่วัฒนธรรมก็ได้ขยายตัวไปอย่างกว้างขวางไปเกือบทั่วภูมิภาคยุโรปและพื้นที่ใกล้เคียงแถบเอเชีย สาเหตุจากการเมือง โดยภารกรานของกษัตริย์อัสนิดา (Antoine, S. 2011) 16 Tarn (1938: 416-418) 17 Rhys Davids (1890: 127) 18 เมืองคาบูล (Kabul) ของประเทศอัฟกานิสถานในปัจจุบัน (Rapson, E. J. 1922: 431)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More