ข้อความต้นฉบับในหน้า
แบบเรียนบาลีวิชาอาการสมุรณ์แบบ
สมาส
สมาสทัน
คือ สมาส ที่ย่อสมาหลายชนิดเข้าเป็นคำเดียวกันตั้งแต่ ๒ ชนิด (๓ คำศัพท์) ขึ้นไป เรียกว่า ฯ คือ การสมาสสมาหลายชนิดเข้าเป็นบทเดียวกัน หากนักศึกษาท่านสมาสแต่ละชนิดได้ป็นอย่างดีแล้ว ก็ไม่ยากเลยที่จะวินิจฉัยศัพท์สมาสท้อง โดยอธิบายการแปลความหมายของแต่ละช่วงศัพท์เป็นสำคัญ โดยกำหนดนิยามว่า
ว่า สมาสใดแปลก่อนสมาสนั้นเป็นสมาสใหญ่ ใส่คำไปเรื่อย ๆ จนล้นสุดศัพท์ มีชื่อท่านนิยามไว้ว่า
๒ คำที่ต่อเช่นกันเป็น ๑ สมาส (ไม่เป็นสมาสท้องเพราะมีสมาสเดียว)
๓ คำที่ต่อเช่นกันเป็น ๒ สมาส
๔ คำที่ต่อเช่นกันเป็น ๓ สมาส
๕ คำที่ต่อเช่นกันเป็น ๔ สมาส
ฯลฯ
หลักกำหนดลำดับสมาส
ในการกำหนดศัพท์แต่ละศัพท์ที่ต่อเข้ากันว่าเป็นสมาสอะไรนั้น ต้องอาศัยฐานของสมาสแต่ละชนิดที่เรียนมาแล้ว เป็นอย่างดี และการกำหนดสมาสใหญ่สมาสน้อยนั้น มีหลักกำหนดนิยามไว้ว่า
๑. สมาสใดแปลก่อน สมาสนั้นเป็นสมาสใหญ่หรือสมาสแม่
๒. สมาสที่แปลเป็นลำดับลงไป ก็เป็นลำดับของสมาสภายในจนถึงน้อยที่สุด
หลักการตั้งวิเคราะห์สมาสก็อง
๑. สมาสใดแปลสุดท้ายที่นามั้งวิเคราะห์ก่อนเป็นลำดับไปจนถึงสมาสใหญ่อยู่หรือสมาสแม่ คือ ตั้งวิเคราะห์สมาน้อยสุดไปหาใหญ่สุด
๒. การตั้งวิเคราะห์ในแต่ละสมาสให้ยึดกฎเกณฑ์เหมือนสมาสที่เรียนมาแล้วทุกประการ
ต่อไปนี้จะแสดงตัวอย่างการกำหนดสมาสและการตั้งวิเคราะห์ เพื่อให้ นักศึกษาได้ฝึกทักษะในการตั้งวิเคราะห์ต่อไปโดยนักศึกษาต้องตัดศัพท์ออกหมดแล้วพิจารณากฎเกณฑ์ของสมาสในแต่ละช่วงศัพท์