ธรรมนาว วรรณราวิจารณ์พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (2) หน้า 12
หน้าที่ 12 / 37

สรุปเนื้อหา

การสนทนาในฉบับนี้เกี่ยวกับการตีความคำสอนของพระศากยมุนีและการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติในปัจจุบันหลังจากที่พระองค์เสด็จดับขันธปรินิพพาน โดยนักศึกษาและอาจารย์ได้แลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับธรรมชาติของการสื่อสารความคิดเห็นและการเปลี่ยนแนวทางของสังฆกรรมซึ่งอยู่บนพื้นฐานของการต่อต้านคำสอนดั้งเดิม โดยอาจารย์อธิบายว่าหลังจากที่พระศากยมุนีเสด็จดับขันธปรินิพพาน ความหมายของการปฏิบัติและคำสอนจึงอาจมีการปรับเปลี่ยนไป ตรวจสอบว่าในยุคปัจจุบันการสนับสนุนหลักธรรมจากพระศากยมุนียังคงเป็นสิ่งสำคัญ

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติในพระพุทธศาสนา
-ความหมายของสังฆกรรม
-การสื่อสารความคิดเห็น
-การต่อต้านคำสอนดั้งเดิม
-การเปลี่ยนแนวทาง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมนาว วรรณราวิจารณ์พระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (ฉบับร่างที่ 11) ปี 2563 นักศึกษา : เป็นข้อความที่เข้าใจง่ายนะครับ อาจารย์ช่วยอธิบายให้ผมเข้าใจง่ายๆ อีกสักน้อยได้ไหมครับ ? อาจารย์ : สรุปความว่า “การถอดราธิบายที่เป็นปฏิบัติ ต่อคำสอนของพระศากยมุนี และสร้างหมู่สูงของตนเอง สามารถทำได้เฉพาะในช่วงที่พระศากยมุนีทรงมีพระชนม์ประมาณพออยู่เท่านั้น แต่หลังจากนั้น ย่อมไม่สามารถทำได้ เพราะพระศากยมุนีเสด็จดับขันธปรินิพพานไปเสียแล้ว ดังนั้น ในปัจจุบันจึงสามารถถอดส่งเมทได้เพียงการไม่ลงทำสังฆกรรมร่วมกันเท่านั้น” นี่เป็นสิ่งที่ผมต้องการจะสื่อ นักศึกษา : แต่แม่หลังจากที่พระศากยมุนีเสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้วก็สามารถปฏิบัติส่อคำสอนของพระศากยมุนีได้ หรือแม้แต่การแสดงความคิดอื่นๆ นั้นมา ก็ถือเป็นปฏิบัติที่ต่อพระศากยมุนีได้ไม่ใช่หรือครับ ? แล้วตกลงว่า “ไม่สามารถทำได้หลังจากที่พระศากยมุนีเสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้ว” หมายถึงอะไรแน่ครับ เรื่องนี้ผมไม่เข้าใจจริงๆ อาจารย์ : เป็นเรื่องธรรมดาครับที่จะไม่เข้าใจ เพราะจะไปแล้วก็เป็นเพียงการกล่าวเพื่อให้เกิดความชอบธรรมในการเปลี่ยนแนวความหมายของสังเกตเท่านั้นเอง ซึ่งในอดีต การทําสงฆ์แม้นี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากการต่อต้านคำสอนของพระศากยมุนีที่เรียกว่า “จักรภพ” แท่มาตอนนี้ เมื่อกล่าวถึงสังฆภาค กลับเหลือเพียง “กรรมภพ” ดังนั้น การหาข้อกล่าวอ้างเพื่อสนับสนุนความชอบธรรมดังกล่าว จึง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More