พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุผลคำตอบของพระพุทธเจ้ามีความหลากหลาย (2) พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (2) หน้า 21
หน้าที่ 21 / 37

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงบริบททางสังคมในยุคที่พระพุทธศาสนามหายานเกิดขึ้น โดยเน้นถึงความยากลำบากที่นักบวชเผชิญในขณะที่สังคมอยู่ในสภาพล้มครืน และความจำเป็นในการสนับสนุนจากประชาชน และกษัตริย์ รวมถึงความมุ่งมั่นของนักบวชในการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรม แม้ว่าสถานการณ์จะยากลำบาก ข้อมูลยังกล่าวถึงการอพยพของชาวต่างชาติและผลกระทบต่อยุคสมัยนั้น โดยไม่มีการทิ้งความตั้งใจของนักบวชในการเข้าถึงความรู้ทางจิตวิญญาณ.

หัวข้อประเด็น

-แหล่งกำเนิดพระพุทธศาสนามหายาน
-ความหลากหลายของคำสอน
-สถานการณ์สังคมในยุคนั้น
-บทบาทของนักบวช
-การสนับสนุนจากกษัตริย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุผลคำตอบของพระพุทธเจ้ามีความหลากหลาย (2) Mahâyâna Buddhism: Reasons for Diversity in the Buddha's Teachings (2) อาจารย์: เราไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นเช่นนั้นทั้งหมด เพราะดังที่ไดกล่าวไปแล้วก่อนหน้านี้ว่า ชีวิตความเป็นอยู่ในของผู้ประพฤติปฏิบัติธรรมใน “พระพุทธศาสนาของพระศากยุธ” อยู่บนฐานของการอัสนทนจากผู้คนเป็นสำคัญ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องได้รับการสนับสนุนจากกษัตริย์ผู้ครองเรือน Instructors: We cannot say that it is all like that because, as mentioned earlier, the life of practitioners in the "Buddhism of the Sakyan" is based on the support from the common people. Therefore, it is necessary to receive backing from the ruling kings. ในยุคที่ “พระพุทธศาสนามหายาน” ถือกำเนิดขึ้นนั้น เป็นยุคที่ราชวงศ์มหายะกำลังจะล่มสลาย จึงกล่าวได้ว่ากำลังเข้าสู่สู่ยุคโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทางแคว้นปคธาซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของอินเดียได้รับชาวต่างถิ่นอพยพเข้ามา24 จนทำให้ตกอยู่ในสภาพล้มครืนครั้งใหญ่ และแน่นอนว่เมื่อสังคมตกอยู่สภาพเช่นนั้น การดำเนินชีวิตในฐานะของนักบวชก็จะกลายเป็นเรื่องยากในเวลานั้น เพราะลำพังประชาชนทั้งหลายจะดูแลตนเองให้ปลอดภัยก็หาพอแรงอยู่แล้ว การจะมาทำบำรุงมงคลหรือบำรุงจึงไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ณิ่นก็ไม่ไดหมายความว่า นักบวชทั้งหลายจะเลิกล้มความตั้งใจในการประกอบกิจปฏิบัติธรรมเพื่อให้บรรลุธรรมไปเสีย สมมติว่าคุณเป็นนักบวชในยุคนั้น คุณจะทำอย่างไรเพื่อให้สามารถก้าวข้ามสถานการณ์นั้นได้? During the era when "Mahâyâna Buddhism" originated, it was a time when the Mahayana dynasty was about to collapse. It can be said that they were entering an era especially along the Pakhtha region in northern India, where foreigners migrated in24, leading to a major societal collapse. Naturally, when society was in such a state, living as monks would be difficult. Because solely relying on the people for safety wasn't feasible. Therefore, it wouldn't be easy for monks to support or sustain themselves. However, this does not mean that monks would give up their determination to practice Buddhism and attain enlightenment. If you were a monk in that era, how would you manage to transcend such a situation? 24 อื่นเชื้อชาติ: มิจขูโกะ ( iminzoku ga rünjyu) ภายหลังจากที่พระเจ้าอโศก สรรเสริญราชวงศ์เมารยะได้ตกต่ำ ในช่วง 2 ศตวรรษก่อนคริสต์ศักราชถึงคริสต์ศตวรรษที่ 1 เวลาต่างถิ่น เช่น กรีฑอิราน ได้รุกล้ำเข้าในอินเดียอย่างต่อเนื่อง ชาวต่างถิ่นเหล่านี้ได้ข้ามช่องเขาไคเบอร์ (Khyber Pass) เขาตอนชายแดนของอัфกานิสถานและปากีสถานในปัจจุบัน เข้าสู่ค้นธาระ (เป็นชื่อเรียกเก่าของดินแดนทางฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของปากีสถานในปัจจุบัน) ซึ่งในสมัยนั้นถือได้ว่าเป็นปากประตูทางเข้ายุคเดิม และผลจากการที่ชาวต่างถิ่นเหล่านี้ได้ใช้เส้นทางด้านกล่าวเป็นเส้นทางหลักในการรุกล้ำเข้ายุคเดิม จึงทำให้ดินแดนตอนเหนือของอินเดียในยุคนั้น อาติ ค้นธาระ ตายูในสภาพรัชนครั้งใหญ่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More