ข้อความต้นฉบับในหน้า
พระพุทธศาสนามหายาน : เหตุผลคำถามของพระพุทธเจ้ามีจุดมาถึงความหลากหลาย (2)
Mahayana Buddhism: Reasons for Diversity in the Buddha's Teachings (2)
ที่หลังจากอาจารย์ได้ละโลกไปแล้วว่าร้อยปี ศิษยานุศิษย์อ่อนเกิดแนวความคิดและอรรถาธิบายในหลักคำสอนที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้น จึงเป็นเรื่องธรรมดาที่อาจเกิดขึ้นได้ และมีความเป็นไปได้วาการแบ่งแยกนิกายอาจเกิดขึ้นก่อนหน้านั้น แต่มาเด่นชัดจริง ๆ ในสมัยของพระเจ้าอโค mak
--------------------------------------
นักศึกษา : ถ้าหากอรรถาธิบายในหลักคำสอนที่แตกต่างกันออกไปจริง ๆ น่าจะต้องเกิดวิวาทะซึ่งกันและกัน จนทำให้แบ่งแยกแตกนิกายกันออกไปมากกว่า แต่ทำไมจึงไม่เป็นเช่นนั้น อีกทั้งยังเกิดเป็นรูปแบบของการยอมรับซึ่งกันและกัน และสามารถดำรงอยู่ร่วมกันได้ครับ ?
อาจารย์ : เป็นปรากฎการณ์ที่แปลกใช่ไหมครับ ถ้าด่างฝ่ายต่างเริ่มต้นกันด้วยข้อวิตะที่ยืนยันว่า “อรรถาธิบายของเราถูกต้อง ส่วนของท่านนั้นผิด” โดยทั่วไปแล้ว คงจะต้องเกิดความแตกแยกกันมากขึ้น แต่ท่าว่ากลับไม่เป็นเช่นนั้น และยังสามารถดำรงอยู่ร่วมกันได้ดี หากจะกล่าวโดยสรุปแล้ว อาจกล่าวได้ว่าปรากฎการณ์นี้สาเหตุจาก “การปรับเปลี่ยนเนียมความหมายของสังฆมต”.
--------------------------------------
สังฆมต หมายถึง การกระทำที่ทำให้หมู่สงฆ์ในพระพุทธศาสนาแตกแยกกัน ซึ่งเดิมนั้น เป็นการกระทำที่หมายถึงการยกอรรถาธิบายที่เป็นปฏิปักษ์ต่อคำสอนของพระศากยมุนี และรวมรวมสมัครพรรค
--------------------------
4 ผู้แปล : หลังจากพระศกยมุนิรับนิวรณ์พานได้รว 100 ปี พระพุทธศาสนา ได้แบ่งออกเป็น 2 นิกาย คือ เครวตาและมหาสังกะ และภายหลังนั้นได้แบ่งแยกออกปลจากทั้ง 2 นิกายดังกล่าวอีก จนมาปรากฎเด่นชัดในสมัยของพระเจ้าอโคประมาณ 18-20 นิกาย
5 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 破僧 (haso)