ธรรมะวาระ วาระธรรมวาทีว่าด้วยพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (2) หน้า 34
หน้าที่ 34 / 37

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอแนวคิดของประโยชน์ผู้อื่นในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะในโครงสร้างที่เน้นการเสียสละตนเอง เพื่อประโยชน์ของผู้อื่น อธิบายว่าพระพุทธศาสนามหายานนั้นมีแนวคิดที่แตกต่างจากพระพุทธศาสนาของพระภาคยานุในเรื่องนี้ การสั่งสมกุศลกรรมในชีวิตประจำวันถือเป็นการประพฤติปฏิบัติเพื่อมุ่งสู่การเป็นพระพุทธเจ้า นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงกุศลกรรมขั้นอุญญาและความสำคัญของการได้พบพระพุทธเจ้าในกระบวนการนั้น.

หัวข้อประเด็น

-ประโยชน์ผู้อื่น
-พระพุทธศาสนามหายาน
-การเสียสละตนเอง
-กุศลกรรมขั้นอุญญา
-การเป็นพระพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมะวาระ วาระธรรมวาทีว่าด้วยพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 11) ปี 2563 ช่วยเหลือเพื่อที่อยาก โดยการสะท้อนชีวิตตนเองให้สีที่อยู่ตรงหน้า ว่่า “งกินเนื้อของเราเพื่ออยู่ดีของท่านออกไป” นั้นเอง นักศึกษา : พอฟังคำว่า “ประโยชน์ผู้อื่น” โดยทั่วไปก็จะเข้าใจว่า เป็นแนวคิดของ “พระพุทธศาสนามหายาน” นะครับ อาจารย์ : นั้นเป็นเพราะพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นเป็น “พระพุทธ- ศาสนามหายาน” จึงทำให้ไม่ค่อยเห็นภาพของ “ประโยชน์ผู้อื่นที่อยู่บน พื้นฐานของประโยชน์ตนเอง” ใน “พระพุทธศาสนาของพระภาคยานุ” นี้สำหรับ “ประโยชน์ผู้อื่นในรูปแบบของการเสียสละตนเอง” ใน “พระพุทธ- ศาสนามหายาน” นั้นเป็นการมุ่งไปที่กุศลอื่นเป็นสำคัญ จึงทำให้รู้สึกว่าเป็นรูปแบบที่ยอดเยี่ยม แต่ยังไงก็ตาม หากพิจารณา กลับไปถึงต้นสายแล้วจะพบว่าเป็น “ประโยชน์ผู้อื่นที่เป็นไปเพื่อ ประโยชน์ตนเอง” ในการบรรจงเป็นพระพุทธเจ้าของตนเองนั่นเอง กล่าวคือ เป็นโครงสร้างของ “ประโยชน์ผู้อื่น → ประโยชน์ตนเอง” เมื่อเป็นเช่นนี้ “การสั่งสมกุศลกรรมในชีวิตประจำวัน คือ การ ประพฤติปฏิบัติเพื่อความเป็นพระพุทธเจ้า” ใน “พระพุทธศาสนา มหายาน” จึงเป็น “กุศลกรรมขั้นอุญญา”46 นักศึกษา : แล้วกุศลกรรมขั้นอุญญามีว่านี้ คืออะไรครับ ? อาจารย์ : นั่นคือแนวความคิดในเรื่องที่ว่า “การได้พบพระพุทธเจ้า และลักษณะพระองค์ เป็นหนทางที่ดีที่สุดเพื่อบรรลุความเป็น พระพุทธเจ้า” ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 究極 (kyukyoku)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More