ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมวัตร วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวบรวมที่ 11) ปี 2563
มีแนวความคิดที่ว่า “พระพุทธเจ้าสามารถมีได้เพียง 1 พระองค์ เท่านั้น” และเมื่อพระพุทธเจ้าได้เสด็จดับขันธปรินิพพานไป จะเข้าสู่ห้วงเวลาที่ว่างเว้นจากพระพุทธเจ้ายาวนานนับหลายพันล้านปี กว่าจะมีพระพุทธเจ้าอีกพระองค์ 26 บังเกิดขึ้น เป็นวัฏจักรเช่นนี้เป็นเรื่อยๆ กล่าวคือ พระกายานุปิ เป็นพระพุทธเจ้าที่ในช่วงหลายพันล้านปีจะมีมาบังเกิดขึ้นสักพระองค์หนึ่ง
แต่ใน “พระพุทธศาสนาหายาน” มีแนวคิดที่ว่า สามารถที่จะมีพระพุทธเจ้ได้หลายพระองค์ (ผู้แปล : ในเวลาเดียวนั้น) ขอเพียงมีความวิริยะอุตสาหะ ไม่ว่าผู้ใดก็สามารถเป็นหนึ่งในพระพุทธเจ้าเหล่านั้นได้ ส่วนว่าทำไมถึงได้แนวคิดที่ว่า “พวกเราปรารถนาความเป็นพระพุทธเจ้า” หรือ “พวกเราสามารถเป็นพระพุทธเจ้าได้” ในประเด็นปัญหานี้ ยังคงไม่ได้รับคำตอบที่เด่นชัด แต่ก็พอจะกล่าวได้ว่า แนวคิดดังกล่าวน่าจะมาคู่กับแนวคิดที่ว่า “แม้คธสีผงครองเรือน ก็สามารถประกอบพุทธิปฏิบัติธรรมเพื่อการบรรลุธรรมได้” ดั่งที่กล่าวไปแล้วข้างต้น ดังนั้น เมื่อนำแนวคิดทั้งสองมานำมาบวกเข้าด้วยกัน จึงทำให้แนวคิดอันเป็นอุดมคติว่า “ไม่ว่าจะเกิดสักกี่หรือบรรพชิต ทุกคนสามารถเข้าถึงสภาวะสูงสุด คือ ความเป็นพระพุทธเจ้าได้เช่นกัน” บังเกิดขึ้น
26 別のブッダ (betsu no budda) หมายเอา พระเมตไตรยโพธิสัตว์
(弥勒菩薩 miroku bosatsu) ผู้ที่จะมาบังเกิดในโลก ภายหลังจากการเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานของพระศากยมุนีได้ 5,670 ล้านปี ซึ่งปัจจุบันอยู่ในสวรรค์ชั้นอุตตรมาณฑล (鬼梁天 tosotsuten) และจะมาบังเกิดเป็นพระเมตไตรยพระพุทธเจ้า (弥勒佛 miroku buts) ภายหลังจากที่พระเมตไตรยพระเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานไป โลกก็จะเว้นจากพระพุทธเจ้าไปอีกกว่านาน กว่าจะมีพระพุทธเจ้าอีกพระองค์มา บังเกิดขึ้น